ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
10
เมษายน
2566
จากหลัก 6 ประการข้อที่ 3 ว่าด้วย "เศรษฐกิจ" สู่ความพยายามของคณะราษฎรต่อนโยบายการปฏิรูปที่ดินหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ซึ่งต้องเผชิญแรงเสียดทานของผู้คนในระบอบเก่า
บทบาท-ผลงาน
9
เมษายน
2566
สืบสาวความคิดทางเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ผ่าน "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" โดยพิจารณาหลักการและความเข้าใจทางเศรษฐกิจของนายปรีดี ซึ่งได้รับอิทธิพลองค์ความรู้จากพัฒนาการความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ท่ามกลางพลวัตของโลกควบคู่ไปกับสภาพสังคมสยามในขณะนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
เมษายน
2566
การเผชิญวิบากกรรมทางการเมืองอีกครั้งจากการถูกจับกุมโดยพรรคก๊กมินตั๋ง ทว่าขณะที่ถูกจองจำ โฮจิมินห์ก็ยังคงมีความหวังอยู่เสมอเพื่อภารกิจที่ตั้งเป้าหมายไว้ ทันทีที่เป็นอิสระ โฮจิมินห์จึงเริ่มบำรุงสุขภาพดูแลร่างกายที่ทรุดโทรม จากนั้นภารกิจกู้เอกราชก็ได้เปิดฉากขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
7
เมษายน
2566
ก่อนการเลือกตั้งทั่วไปจะมาถึงในวันที่ 14 พฤษภาคมนี้ บทความนี้ชวนผู้อ่านสำรวจรูปแบบและวิธีการเลือกตั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย นับตั้งแต่แรกเริ่มสถาปนาระบอบประชาธิปไตย เรื่อยมาจนถึงการเลือกครั้งล่าสุดในปี 2562
แนวคิด-ปรัชญา
6
เมษายน
2566
ทรรศนะทางการเมืองต่อเรื่องกลไกประชาธิปไตย เพื่อส่งใจความไปถึงเหล่าองคาพยพทางการเมืองทุกฟากฝ่าย โดยเฉพาะผู้ที่มีอำนาจขึ้นมาได้จากการใช้อำนาจนอกระบอบ กุหลาบชี้ชัดให้เห็นว่าระบบการเมืองที่มั่นคงและตั้งตรงด้วยหลักการ จะเป็นเสมือนปราการที่คอยป้องกันมิให้สิ่งไม่ดีเกิดขึ้นในระบบการเมืองได้น้อยครั้งที่สุด
วันนี้ในอดีต
5
เมษายน
2566
5 เมษายน 2460 : 106 ปี ชาตกาล ครูองุ่น มาลิก
บทบาท-ผลงาน
4
เมษายน
2566
อ่านใจความของมรดกแห่งยุคสมัยจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ในภาพยนตร์ "The King of The White Elephant" หรือ "พระเจ้าช้างเผือก" อีกหนึ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ซึ่งพิสูจน์แนวคิดทางการเมืองและสังคมของนายปรีดีในวันที่สันติภาพแห้งเหือดไปจากโลกใบนี้
แนวคิด-ปรัชญา
3
เมษายน
2566
ย้อนอ่านแนวคิดการเลือกตั้งและประชาธิปไตยของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ดังปรากฏในพระราชบัญญัติว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างเวลาที่ใช้บทบัญญัติฉะเพาะกาลของปฐมรัฐธรรมนูญ ในสภาผู้แทนราษฎรชุดแรกของสยามเมื่อเข้าสู่การปกครองแบบระบอบประชาธิปไตยภายหลังการอภิวัฒน์
บทบาท-ผลงาน
2
เมษายน
2566
อ่านจุดเชื่อมโยงและความสัมพันธ์ระหว่าง 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' และ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านข้อเขียนเรื่อง "รัฐบุรุษอาวุโสกลับคืนสู่มาตุภูมิ" และ "การลาออกของนายปรีดี" บทความของกุหลาบซึ่งได้ตีพิมพ์ไว้เมื่อปี พ.ศ. 2490
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2566
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ชวนย้อนลำดับเหตุการณ์ มูลเหตุสำคัญของการรัฐประหารครั้งแรกในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476
Subscribe to บทความ