ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทบาท-ผลงาน

บทบาทและผลงานของปรีดี

บทบาท-ผลงาน
7
สิงหาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เสนอประเด็นเรื่องหลัก 6 ประการที่หนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยนายประยูร ภมรมนตรี โดยชี้ว่าข้อเท็จจริงที่แท้นั้น นายประยูรได้ปฏิเสธการดำเนินนโยบายตามหลัก 6 ประการของคณะราษฎร
บทบาท-ผลงาน
6
สิงหาคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอว่าในบริบทสงครามโลก ครั้งที่ 2 ซึ่งเเผด็จการฟาสซิสต์เรืองอำนาจในประเทศฝ่ายอักษะ พบว่าในไทยนั้นรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่เดิมยึดหลัก 6 ประการและสันติภาพได้มีนายประยูร ภมรมนตรี และหลวงวิจิตรวาทการ หนุนเสริมให้จอมพล ป. เอาอย่างฮิตเลอร์
บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2567
นโยบายสันติภาพระหว่าง 3 เดือนแรกของรัฐบาลซึ่งนายพันเอกหลวงพิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีโดยมีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังซึ่งรัฐบาลยังยึดหลัก 6 ประการในการดำเนินนโยบาย
บทบาท-ผลงาน
1
สิงหาคม
2567
ไสว สุทธิพิทักษ์ กล่าวถึงบทบาทผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของปรีดี พนมยงค์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2484-2488 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลก ครั้งที่ 2 ที่ปรีดีมีพันธกิจกู้ชาติและรักษาเอกราชของประเทศไว้ได้ด้วยการก่อตั้งขบวนการเสรีไทยในประเทศ
บทบาท-ผลงาน
31
กรกฎาคม
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดิน เรื่องข้อเท็จจริงในการอภิวัฒน์ 2475 ตอนที่ 10 เสนอข้อมูลการบิดเบือนจากหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยประยูร ภมรมนตรี ในประเด็นสำคัญคือ เรื่องการเสนอธรรมนูญการปกครองฉบับแรก และการโจมตีนายปรีดี พนมยงค์ ในช่วงมิถุนายน 2475
บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2567
นโยบายและแนวคิดเศรษฐกิจสวัสดิการสังคมของปรีดี พนมยงค์ ปรากฏทันทีภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 ในหลัก 6 ประการ ตามประกาศคณะราษฎร และนำมาสู่การปฏิญาณในรัฐสภา วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชรเสนอว่า นายปรีดีเป็นบุคคลแรกในประวัติศาสตร์สังคมไทยที่มีแนวคิดในด้านสวัสดิการสังคม
บทบาท-ผลงาน
29
กรกฎาคม
2567
ข้อเขียนที่เน้นเรื่องแนวคิดของนายปรีดี พนมยงค์ต่อสงครามโลก ครั้งที่ 2 จากงานเสวนาภาพยนตร์ เรื่องพระเจ้าช้างเผือก โดยสุรัยยา สุไลมาน และโดม สุขวงศ์ ที่จัดขึ้นในวาระ 70 ปี วันสันติภาพไทย เมื่อวันอาทิตย์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บทบาท-ผลงาน
24
กรกฎาคม
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดิน เรื่องข้อเท็จจริงในการอภิวัฒน์ 2475 ตอนที่ 9 เสนอว่าข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยประยูร ภมรมนตรี นั้นบิดเบือนในประเด็นสำคัญคือ เรื่องปฐมรัฐธรรมนูญ, พระยาทรงสุรเดช และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา
บทบาท-ผลงาน
23
กรกฎาคม
2567
การแข่งขันโต้วาทีครั้งแรกของสยามในวันที่ 18 สิงหาคม 2478 ด้วยญัตติ “ร้อนดีกว่าเย็น” มีพระยาโอวาทวรกิจ เป็นหัวหน้าฝ่ายเสนอ และมีรองอำมาตย์โทวิเชียร ฉายจรรยา เป็นหัวหน้าฝ่ายค้าน โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการคือ พระสารสาสน์ประพันธ์สนับสนุนให้จัดการแข่งขันโต้วาทีชิงรางวัลขึ้น
บทบาท-ผลงาน
18
กรกฎาคม
2567
บทบาทของนายปรีดีด้านการต่างประเทศ ในทศวรรษ 2480-2510 ชี้ให้เห็นว่านายปรีดีมีบทบาทในการต่างประเทศมาตั้งแต่ก่อนสงครามโลก ครั้งที่ 2 และในการประชุมเรื่ององค์การความร่วมมือส่วนภูมิภาค โดยเป็นจุดก่อร่างแนวคิดการก่อตั้งองค์การสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในไทยต่อมา
Subscribe to บทบาท-ผลงาน