ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทบาท-ผลงาน

บทบาทและผลงานของปรีดี

บทบาท-ผลงาน
31
มกราคม
2568
กฎหมายมรดกของโซเวียตในช่วงเวลาดังกล่าวเน้นให้รัฐมีบทบาทสำคัญในการเข้าถึงและควบคุมทรัพย์สินของเอกชน ทั้งทางตรง (การรับมรดก) และทางอ้อม (ภาษีมรดกที่สูงมาก) ซึ่งสะท้อนแนวคิดของระบอบสังคมนิยมที่ให้ความสำคัญกับรัฐมากกว่ากรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล
บทบาท-ผลงาน
30
มกราคม
2568
ปรีดี พนมยงค์ เขียนอธิบายเกี่ยวกับการจำแนกประเภทคดีปกครองในประเทศฝรั่งเศส อธิบายถึงความแตกต่างของศาลปกครองและศาลยุติธรรมในการตัดสินคดีเกี่ยวกับการกระทำของรัฐและการดำเนินการในระบบปกครอง
บทบาท-ผลงาน
28
มกราคม
2568
ปัญหาชาวรัสเซียผู้ถูกถอนสัญชาติสะท้อนถึงความยุ่งยากในทางกฎหมายระหว่างประเทศ โดยเฉพาะในกรณีที่บุคคลไม่มีสัญชาติอย่างชัดเจน การแก้ไขต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างประเทศและการออกกฎหมายอันว่าด้วยกฎหมายขัดกัน (Law on Conflicts of Law)
บทบาท-ผลงาน
11
มกราคม
2568
ปาฐกถาเนื่องในโอกาส 100 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ พ.ศ. 2555 ที่เสนอบทบาทของสตรีในมิติประวัติศาสตร์ การให้สิทธิแก่สตรีในทางกฎหมาย และความเสมอภาคในความหลากหลายทางเพศ
บทบาท-ผลงาน
19
ธันวาคม
2567
การเปลี่ยนแปลงปีงบประมาณไทย เริ่มในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 26 ธันวาคม 2481 ในสมัยที่นายปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
บทบาท-ผลงาน
10
ธันวาคม
2567
10 ธันวาคม 2485 เป็นวันเปิดดำเนินการธนาคารชาติซึ่งมีแนวคิดริเริ่มในการจัดตั้งตามอุดมคติของคณะราษฎรโดยนายปรีดี พนมยงค์ ได้นำมาเขียนไว้ในเค้าโครงการเศรษฐกิจและสมุดปกเหลืองจนนำมาสู่การก่อตั้งสำเร็จ
บทบาท-ผลงาน
8
ธันวาคม
2567
ไสว สุทธิพิทักษ์ เขียนถึงภารกิจของนายปรีดี พนมยงค์ หลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 ในบทบาทรัฐบุรุษอาวุโส และนายกรัฐมนตรีสมัยแรก รวมถึงการมีส่วนผลักดันให้เกิดรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยสมบูรณ์ ฉบับปี 2489
บทบาท-ผลงาน
30
พฤศจิกายน
2567
สัมผัส พึ่งประดิษฐ์ เขียนถึงบทบาทและผลงานสำคัญทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของปรีดี พนมยงค์ ตั้งแต่การอภิวัฒน์ 24 มิถุนายน 2475 จนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตในปี 2526
บทบาท-ผลงาน
22
พฤศจิกายน
2567
บทบาทและผลงานของนายปรีดี พนมยงค์ ในด้านการต่างประเทศนับได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสมัยแรกในรัฐบาลพระยาพหลฯ จนสิ้นทศวรรษ 2480
บทบาท-ผลงาน
21
พฤศจิกายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ ได้เสนอประเด็นสำคัญคือ ปัญหาเศรษฐกิจของสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ผ่านการประวัติศาสตร์ของฝรั่งเศสในยุคพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ที่ไม่ได้มีการวางแผนเศรษฐกิจไว้ล่วงหน้าจนทำให้ราษฎรต้องอดอยากนำไปสู่การล่มสลายในที่สุด และได้เสนอการแก้ไขเศรษฐกิจผ่านเค้าโครงการเศรษฐกิจ (สมุดปกเหลือง) ตามแนวทางของหลัก 6 ประการ
Subscribe to บทบาท-ผลงาน