ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทบาท-ผลงาน

บทบาทและผลงานของปรีดี

บทบาท-ผลงาน
30
พฤษภาคม
2565
เป็นที่ทราบกันดีว่า การดำเนินนโยบายตามหลัก 6 ประการของคณะราษฎร มาเกิดขึ้นได้จริง ก็เมื่อ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ส่วนการผลักดันนโยบายตามปณิธาณของการอภิวัฒน์มาเกิดขึ้นอย่างเต็มกำลังก็เมื่อหลังเหตุการณ์ปราบกบฏบวรเดชจบลง อันถือเป็นความพยายามต่อสู้กับระบอบของผู้ศรัทธาในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ครั้งสุดท้าย
บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
บทบาท-ผลงาน
25
พฤษภาคม
2565
นายปรีดี พนมยงค์ นักเรียนกฎหมายวัยเพียง 19 ปีที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะและยังเรียนไม่จบ ได้ทำการขออนุญาตเป็นพิเศษต่อผู้พิพากษาเจ้าของคดี รับอาสาว่าความเป็นทนายแก้ต่างให้นายลิ่มซุ่นหงวน ในเวลานั้นได้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างมาก ด้วยทนายอาสาผู้นี้นั้น ทั้งเรียนยังไม่จบและยังไม่เคยว่าความใดๆ มาเลยสักครั้งในชีวิต
บทบาท-ผลงาน
24
พฤษภาคม
2565
ย้อนกลับไปภายหลังการอภิวัฒน์ ขณะนั้น 'นายปรีดี พนมยงค์' รั้งตำแหน่งเจ้ากระทรวงมหาดไทย ได้มีการเสนอร่าง พรบ.ว่าด้วยระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 และ พรบ.จัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476 เพื่อปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดินของไทยใหม่ และได้มีการจัดตั้ง "เทศบาล" ขึ้นเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทบาท-ผลงาน
16
พฤษภาคม
2565
ภายใต้รัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีชื่อ พระยาพหลพลพยุหเสนา “นโยบายสันติภาพ” มีฐานะเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย “หลักเอกราช” อันเป็นหนึ่งในหลักหกประการของคณะราษฎร เหตุที่เรื่องนี้กลายมาเป็นเรื่องหลักของรัฐบาล เนื่องมาจาก ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 ที่เสมือนคำมั่นสัญญากับประชาชนนั้น ผู้ก่อการได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการสูญเสียเอกราชของประเทศ ที่ต้องเร่งกอบกู้โดยเร็ว
บทบาท-ผลงาน
14
พฤษภาคม
2565
สมัยที่ พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะราษฎรได้มีนโยบายส่งเสริมการทำนาโดยจัดให้มีการประกวดพันธุ์ข้าว ซึ่งการประกวดครั้งสำคัญนั้น เกิดขึ้นที่อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี เมื่อปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2477 ท่านนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีและสมาชิกคณะราษฎรบางส่วนยังเดินทางไปมอบรางวัลแก่ผู้ชนะการประกวด อีกทั้งร่วมเกี่ยวข้าวจากแปลงนาของเกษตรกรด้วยตนเอง
บทบาท-ผลงาน
10
พฤษภาคม
2565
นที่ 7 พฤษภาคม 2489 เป็นวาระที่การประชุมของสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2475 จะได้สิ้นสุดลง 'นายปรีดี พนมยงค์' ได้แสดงสุนทรพจน์ในสภาผู้แทนราษฎรแก่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร โดยเนื้อหาได้กล่าวถึง "ระบอบประชาธิปไตยอันแท้จริง" และ "ความสามัคคีธรรม"
บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2565
ความคิดเรื่องกรรมกรของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ และนโยบายต่อกรรมกรของคณะราษฎร ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงกันมากนัก เช่นน้อยคนที่จะทราบว่า ปรีดีเป็นผู้สนับสนุนให้มีวันกรรมกร ขึ้น ครั้งหนึ่งยังเคยมอบหมายให้ หม่อมเจ้าสกลวรรณกร วรวรรณ ไปแสดงสุนทรพจน์เนื่องในวันกรรมกร[1]
บทบาท-ผลงาน
28
เมษายน
2565
‘ไสว สุทธิพิทักษ์’ ได้ย้อนเรื่องราวถึงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ผูกเงินบาทเข้าไว้กับเงินปอนด์สเตอร์ลิงของอังกฤษมาอย่างยาวนาน ซึ่งการกระทำเช่นนี้นั้น ไม่เป็นผลดีต่อเสถียรภาพเงินตราและความมั่นคงของชาติอย่างแท้จริง
บทบาท-ผลงาน
26
เมษายน
2565
จากปัญหาหลักของชาวนาในสยามที่ปรีดีพบ คือ ไม่ได้รับความช่วยเหลือและดูแลโดยหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจากทั้งส่วนกลาง หรือส่วนท้องถิ่น อาจเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ปรีดี สนใจเรื่องบทบาทและหน้าที่ตำรวจชาวนาของฝรั่งเศส ส่งผลเชื่อมโยงแนวคิดมาจนถึงการอภิวัฒน์สยามเพื่อความสุขสมบูรณ์ของราษฎร ตามปฏิญญาที่คณะราษฎรได้ประกาศไว้
Subscribe to บทบาท-ผลงาน