ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทบาท-ผลงาน

บทบาทและผลงานของปรีดี

บทบาท-ผลงาน
28
มกราคม
2565
-๑- ภายหลังที่รัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับบริเตนใหญ่และสหรัฐอเมริกาดั่งกล่าวแล้ว รัฐบาลก็ดำเนินต่อไปอีกในการผูกมัดประเทศไทยเข้ากับญี่ปุ่นและอักษะมากขึ้น
บทบาท-ผลงาน
26
มกราคม
2565
10 ปี ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาขึ้นเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 และรัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับสหรัฐฯ และบริเตนใหญ่ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็นจุดที่รัฐบาลไทยหันเข้าหาญี่ปุ่นเต็มตัว และต่อต้านสัมพันธมิตร เข้าสู่สงครามเป็นทางการ [1] คำถามสำคัญคือ ทำไมวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 จึงเป็นโมฆสงครามตามทัศนะของปรีดี พนมยงค์ ในบทความนี้จะค่อยๆ คลี่ให้เห็นคำตอบต่อไป  
บทบาท-ผลงาน
22
มกราคม
2565
ช่วงวันที่ 10-11 สิงหาคม พ.ศ. 2478 ปรากฏข่าวคราวหนึ่งแพร่กระจายสู่ความรับรู้ของผู้พำนักอยู่ในรัฐปีนัง (Penang) เขตดินแดนมลายู จนสร้างความตื่นเต้นและตื่นตัวเป็นอันมาก นั่นคือกรณีที่ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือ นายปรีดี พนมยงค์ ขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จะออกเดินทางจากเมืองไทยมาแวะเยือนถิ่นปีนัง โดยเฉพาะความเคลื่อนไหวของกลุ่มเจ้านายเดิมสมัยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ต้องลี้ภัยทางการเมือง 
บทบาท-ผลงาน
29
ธันวาคม
2564
ประชาธิปไตยกับภาคธุรกิจ ไม่บ่อยครั้งนักที่คำว่า “ธุรกิจ” และ “ประชาธิปไตย” จะถูกนำมาใช้ร่วมกันในประโยคเดียวกัน แต่อย่างไรก็ตาม มันก็มีความเชื่อมโยงที่แน่นแฟ้นระหว่างทั้งสองคำนี้ ซึ่งในประเทศที่พัฒนาแล้วส่วนใหญ่มักจะมีธุรกิจของภาคเอกชนที่ดำเนินงานอย่างเข้มแข็ง ในขณะที่ประเทศที่ด้อยพัฒนากว่ามักจะประสบปัญหาจากภาคเอกชนที่อ่อนแอและการผูกขาดจากหน่วยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ จึงได้เกิดมีงานวิจัยที่มีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่งและกำลังทำการศึกษาอยู่โดยมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard Business School) ที่ได้พิจารณาถึงความสัมพันธ์หว่างภาคธุรกิจและแนวคิดระบอบประชาธิ
บทบาท-ผลงาน
16
ธันวาคม
2564
เมื่อกองทัพญี่ปุ่นยาตราทัพเข้ามาไทยได้ โดยทหารไทยได้รับคำสั่งจากผู้บัญชาการทหารสูงสุดมิให้ทำการต่อต้านแล้ว ฝ่ายญี่ปุ่นก็เริ่มละเมิดข้อตกลง ข้อ 2. ที่ว่า “ญี่ปุ่นขอเพียงส่งกองทัพผ่านประเทศไทยเท่านั้น โดยจะพักอยู่ที่กรุงเทพฯ” คือ ฝ่ายกองทัพญี่ปุ่นได้พักอยู่ในกรุงเทพฯ และควบคุมจุดยุทธศาสตร์ไว้หลายแห่ง และวางยามล้อมรอบสถานทูตอังกฤษ อเมริกัน เนเธอร์แลนด์ และได้จัดตั้งองค์การตำรวจปราบปรามที่นาซีเยอรมันเรียกว่า “แกสตาโป” ญี่ปุนเรียกว่า “แกมเปอิ” ตามล่าตัวเสรีจีนที่เป็นหน่วยสาขาของจีนซึ่งโฆษณาทิ้งใบปลิวโจมตีญี่ปุ่นตลอดมาก่อนญี่ปุ่นเข้าเมืองไทย 
บทบาท-ผลงาน
10
ธันวาคม
2564
บทความชิ้นนี้สืบเนื่องในวาระครบรอบ 89 ปี การเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดยคณะราษฎร หลักการสำคัญของคณะราษฎรในการวางรากฐานทางประชาธิปไตย คือ การเปลี่ยนการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญคือ สิ่งสำคัญต่อระบอบประชาธิปไตยที่สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน
บทบาท-ผลงาน
5
ธันวาคม
2564
ดิฉันรู้จักคุณเตียงครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2476 เมื่อดิฉันไปเข้าเรียนอักษรศาสตร์ที่ ม.จุฬาลงกรณ์ ตอนนั้นคุณเตียงเรียนจบไปหลายปีแล้ว ตั้งแต่ครั้งที่แผนกอักษรศาสตร์ยังไม่มีปริญญา ปีที่ดิฉันไปเข้านั้นดูเหมือนจะเป็นปีแรกที่เขาตั้งปริญญาขึ้น เพื่อนๆ คุณเตียงกลับมาเรียนต่อหลายคน คุณเตียงไม่ได้มาเรียน (เข้าใจว่าเริ่มยุ่งกับการเมือง) แต่ก็ได้แวะวนมาเยี่ยมเพื่อนๆ ที่จุฬาฯ เสมอ และเมื่อมีงานเลี้ยงของคณะอักษรศาสตร์ก็มาร่วมด้วยไม่เคยขาด คุณเตียงเป็นคนใจกว้าง รักหมู่คณะเป็นยอด เพื่อนๆ จึงรักเธอมากทุกคน เพื่อนเหล่านี้เป็น น.ร.หญิงหลายคนที่มาจาก ร.ร. ราชินี ร.ร.
บทบาท-ผลงาน
4
ธันวาคม
2564
ย้อนกาลเวลาสู่ช่วงทศวรรษ 2440 กลางท้องทุ่งริมเขตแดนของอำเภออุทัย (ยุคนั้นเรียก “อำเภออุไทย”) แห่งอยุธยา มณฑลกรุงเก่า ได้ปรากฏบุรุษสามรายผู้ประพฤติตนเป็น “นักต่อสู้ไล่ช้าง” อันมีนามว่า คุณแดง นายฮ้อ และนายเสียง เรื่องราวของพวกเขาจะเป็นอย่างไร? และเกี่ยวข้องประการใดกับ นายปรีดี พนมยงค์? โปรดติดตาม ณ บัดนี้
บทบาท-ผลงาน
2
ธันวาคม
2564
ข้าพเจ้าได้ช่วยนายปรีดีรับฟังวิทยุต่างประเทศเพื่อทราบความเคลื่อนไหวของสัมพันธมิตร ข่าวการสู้รบในสมรภูมิต่างๆ ทั่วโลก และบางครั้งข้าพเจ้าก็ช่วยเขียนรหัส ด้วยลายมือโดยไม่ใช้พิมพ์ดีด
Subscribe to บทบาท-ผลงาน