บทบาท-ผลงาน
บทบาทและผลงานของปรีดี
บทความ • บทบาท-ผลงาน
17
มีนาคม
2565
ณ ขณะที่ผู้เขียนได้เขียนบทความชิ้นนี้ อยู่ในช่วงเวลาของเหตุการณ์ที่รัฐบาลอเมริกันกำลังจะจัดตั้งรัฐบาลในอิรัก จะเห็นได้ว่า แนวคิดเรื่อง "สันติภาพ สันติธรรม มนุษยธรรม" ยังคงนำมาใช้ได้กับทุกยุคทุกสมัย แม้กระทั่งเหตุการณ์ความรุนแรงที่กำลังเกิดขึ้นก็ตาม
บทความ • บทบาท-ผลงาน
15
มีนาคม
2565
ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประพันธ์พระเจ้าช้างเผือก ได้สรรค์สร้าง "พระเจ้าจักรา" ให้เป็นผู้ปกครองเมืองด้วยหลักสันติธรรม ถึงแม้นว่าจะอยู่ในสภาวะแห่งสงคราม พระมหากษัตริย์อย่างพระเจ้าจักราก็ทรงเลือกใช้หลักแห่งสันติภาพเข้ามาจัดการให้ภัยสงครามผ่านพ้น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
14
มีนาคม
2565
เนื้อหากล่าวถึงแนวคิดสันติวิธีและสันติภาพที่นายปรีดี พนมยงค์ ผู้ประพันธ์ ได้สอดแทรกไว้ใน "พระเจ้าช้างเผือก" ไม่ว่าจะเป็นตัวบทภาพยนตร์ก็ดี หรือ ตัวละครก็ดี ผ่านการตีความในบริบทต่างๆ อาทิ สันติภาพ : ไม่ใช่การยอมจำนน, สันติวิธี : มุมมองจากศาสนาพุทธ และ สันติภาพเชิงโครงสร้าง : หนทางสู่สันติภาพในสังคม เป็นต้น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
11
มีนาคม
2565
‘ไสว สุทธิพิทักษ์’ ได้เขียนถึงเรื่องราวภายหลังเหตุการณ์จากการนำเสนอ “เค้าโครงการเศรษฐกิจ” คือ การนำออกแจกจ่ายสมุดปกขาวให้กับราษฎร ต่อเนื่องไปถึงเหตุการณ์รุนแรงในระบอบประชาธิปไตย คือ การปิดสภา งดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา จนถึงการให้สัมภาษณ์เชิงข่มขู่กับหนังสือพิมพ์เพื่อใส่ร้ายคณะราษฎรของฝ่ายอนุรักษนิยม เป็นต้น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
10
มีนาคม
2565
ข้อเสนอของปรีดี พนมยงค์ เรียบง่ายแต่ชัดเจน การจัดรัฐสวัสดิการและเงินเดือนพื้นฐานให้คนไทยทุกคน เริ่มต้นอยู่ที่ 20 บาทต่อเดือน คิดเป็นมาตรฐานของค่าครองชีพปัจจุบันแล้วประมาณ 4,000 บาทต่อเดือน สิ่งเหล่านี้ภาคประชาชนกำลังพูดถึง “เรื่องบำนาญ” พูดกันมา 80 - 90 ปี นี่คือสิ่งที่ถูกนำเสนอในรอบแรกของการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรม
บทความ • บทบาท-ผลงาน
1
มีนาคม
2565
เหตุการณ์ ร.ศ. 130 เป็นความพยายามเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ให้เป็นระบอบประชาธิปไตยของกลุ่มทหารและปัญญาชนที่เกิดขึ้นในยุคต้นรัชกาลที่ 6
บทความ • บทบาท-ผลงาน
7
กุมภาพันธ์
2565
บันทึกข้อเสนอเรื่องขุดคอคอดกระของนายปรีดี พนมยงค์
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๑
เรียน ท่านนายกสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
29
มกราคม
2565
แม้จะได้รับการโจมตีว่าเป็น “รัฐบาลขี้ขลาด” เพราะไม่ตัดสินใจทำสงครามในกรณีพิพาทกับฝรั่งเศสช่วงปี พ.ศ. 2489 แต่ นายปรีดี พนมยงค์ ก็ยังยืนยันหนักแน่นว่า เขาจะต้องดำเนินนโยบายเพื่อมิให้ราษฎรประสบความเดือดร้อนในการเข้าสู่สภาวะสมรภูมิอีกต่อไป
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to บทบาท-ผลงาน
28
มกราคม
2565
-๑-
ภายหลังที่รัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับบริเตนใหญ่และสหรัฐอเมริกาดั่งกล่าวแล้ว รัฐบาลก็ดำเนินต่อไปอีกในการผูกมัดประเทศไทยเข้ากับญี่ปุ่นและอักษะมากขึ้น