แนวคิด-ปรัชญา
แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
พฤศจิกายน
2566
การรับรู้ของผู้คนในยุคหลังการอภิวัฒน์ 2475 ต่อคำว่า “วิทยาศาสตร์” มักถูกมองให้เป็นเรื่องของนักวิทยาศาสตร์ มิได้ข้องเกี่ยวกับตนแต่อย่างใด หรือกล่าวได้ว่า ผู้คนยังคงมอง “วิทยาศาสตร์” เป็นเรื่อง “อื่น” มิใช่เรื่องใกล้ตัวใดที่ต้องให้ความสำคัญ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2566
สถาบันและระบบการเมืองตั้งอยู่บนรากฐานแห่งสภาพความเป็นอยู่ทางชีวปัจจัยของสังคม กล่าวคือ ความต้องการในการดำรงชีพของมนุษย์เป็นตัวกำหนดรูปแบบของสถาบันและระบบการเมือง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
3
พฤศจิกายน
2566
จากปัจจัยสำคัญที่ทำให้ญี่ปุ่นและเยอรมนีประสบความสำเร็จนี้ นับเป็นสิ่งที่ประเทศไทยสามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ของญี่ปุ่นและเยอรมนีเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจให้เจริญรุ่งเรืองได้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
2
พฤศจิกายน
2566
ปรากฏความยอกย้อนของการอธิบายสถานะพระราชกฤษฎีกาที่ 1 จากทัศนะที่มองผ่านการตีความคำจำกัดความของรัฐธรรมนูญในปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องย้อนให้ผู้อ่านมองผ่านบริบททางประวัติศาสตร์ของสังคมสยามและการรับรู้สถานะรัฐธรรมนูญของชนชั้นนำในห้วงยามนั้นที่มองร่างพระราชกฤษฎีกาที่ 1 ยังมิได้เป็นรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยตามบริบทการเมืองในช่วงเวลานั้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
28
ตุลาคม
2566
ความจำเป็นของการปฏิรูปประกันสังคมและกองทุนประกันสังคม ในฐานะกองทุนขนาดใหญ่ที่ถือครองเม็ดเงินจำนวนมหาศาลในขณะเดียวกันก็ดูแลคนจำนวนกว่า 24 ล้านคนทั่วประเทศที่ปัจจุบันยังคงปรากฏข้อบกพร่องในหลากหลายด้าน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2566
การแก้ไขปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทย ด้วยการรื้อถอนมรดกและผลพวงจากเผด็จการอำนาจนิยมของทหารที่ครอบงำการเมืองไทยมาตลอดหลายสิบปี สืบเนื่องมาตั้งแต่รัฐประหารปี 2490 ด้วยการสนับสนุนต่อการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่จำเป็นต้องยึดโยงกับประชาชนจึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นในห้วงเวลานี้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
ตุลาคม
2566
การถือลำดับชั้นทางสังคมไม่เคยปรากฏขึ้นว่ามีในสังคมปฐมสหการ แต่เมื่อสังคมทาส ศักดินา หรือธนานุภาพ (ระบบทุน) เกิดขึ้นมา คำเรียกและลำดับชั้นเหล่านี้ก็ล้วนจำต้องปรากฏออกมา และสัมพันธ์กับการถือครองปัจจัยการผลิต
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
ตุลาคม
2566
ปรัชญาของความรู้และความหมายของ “วิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย” ข้อควรพึงพิจารณา คำนึงถึง รวมทั้งการวิพากษ์วิจารณ์ถึงเผด็จการและการร่างรัฐธรรมนูญปี 59-60 ที่ไม่เป็นประชาธิปไตย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
ตุลาคม
2566
ศาลหรือองค์กรตุลาการเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ทำให้การทำรัฐประหารได้รับความชอบธรรม ส่งผลให้คณะรัฐประหารเหล่านั้นกลายเป็น “รัฏฐาธิปัตย์” และเนื่องด้วยเพราะประชาชนไม่ต่อต้านมากพอตุลาการจึงไม่อาจทานคณะรัฐประหารได้?
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2566
พลวัตของฝ่ายเผด็จการว่ามีลักษณะและการแปรเปลี่ยนรูปแบบไปของเผด็จการอย่างไร ในช่วงอภิวัฒน์ฝรั่งเศสของกษัตริย์หรือชนชั้นเจ้าศักดินา และการเกิดขึ้นมาใหม่ของชนชั้นเจ้าสมบัติหรือนายทุนสมัยใหม่ที่เติบโตไปพร้อมกับโครงสร้างทุนนิยมที่ขยายใหญ่ขึ้น