แนวคิด-ปรัชญา
แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2566
ชวนผู้อ่านศึกษาถึงส่วนขยายของการกระทำที่เกิดขึ้นเฉพาะบุคคลหรือเฉพาะรายๆ ไปของผู้มีอำนาจบริหาร อำนาจธุรการ หรือเจ้าพนักงานปกครอง ซึ่งไม่ได้เป็นข้อบังคับที่ใช้โดยทั่วไป แต่พิจารณาเป็นเรื่องๆ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
15
สิงหาคม
2566
ผู้เขียนได้สร้างกรอบความคิดและมุมมองการวิเคราะห์ถึงการจัดการความ ขัดแย้งและการสร้างสันติภาพในเมียนมาที่มีลักษณะที่ทั้งก้าวหน้า คงที่ และถดถอย ซึ่งมีความสลับซับซ้อนของตัวแปรที่ปรากฏในการเมืองของเมียนมาไว้เป็น 3 ส่วนหลัก เพื่อแนวทางต่อขบวนการสร้างสันติภาพในอนาคต
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
11
สิงหาคม
2566
กระบวนการปฏิรูปทางการเมืองและเศรษฐกิจของเมียนมาผ่านมุมมองและมิติระหว่างประเทศ ถึงบทบาทจากภายนอกเมียนมา ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาระบบอภิบาลประชาธิปไตย รวมไปถึงกระบวนการสันติภาพและการเจรจาปรองดอง จากบริบทระหว่างประเทศ โดยมีตัวแสดงภายนอกที่มีส่วนช่วยให้ได้รับประโยชน์จากประชาธิปไตยในที่สุด
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2566
ความคิดเพียงว่า ขบวนการเสรีไทยเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อปกป้องหรือรักษาเอกราช ได้บดบังสาระสำคัญที่ซ่อนอยู่บางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุดมการณ์เพื่อสันติภาพ อธิปไตย และการฟื้นคืนประชาธิปไตย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
สิงหาคม
2566
หัวใจสำคัญของประชาธิปไตยคือประชาชน การให้การศึกษาเรื่องประชาธิปไตยแก่ประชาชนจึงเป็นเรื่องที่ขาดไม่ได้ เช่นเดียวกัน การพัฒนาประชาธิปไตยก็มีหลักสำคัญอยู่ที่การพัฒนาคน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
2
สิงหาคม
2566
นับตั้งแต่รัฐประหารเมื่อ 2557 หรือเกือบทศวรรษที่ผ่านมานี้ชี้ให้เห็นว่ายิ่งผู้มีอำนาจหรือรัฐบาลพยายามกดปราบข้อเรียกร้องของประชาชนมากเท่าใด แนวโน้มข้อเรียกร้องเหล่านั้นก็จะมีความแหลมคมมากขึ้นเท่านั้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
สิงหาคม
2566
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เรื่องการแสวงหาบทบาทให้กับสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในรัชสมัยของรัชกาลที่ 8 ช่วงระหว่างปี 2478-2487 ว่าสถาบันกษัตริย์และสถาบันการเมืองในช่วงเวลานั้น มีส่วนในการแสวงหาบทบาทของสถาบันกษัตริย์ใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเช่นไร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
31
กรกฎาคม
2566
ความขัดแย้งอย่างเป็นปัญหาหนักหน่วงในสังคมและจุดยืนแบบต่างโลก ระหว่างผู้ที่ศรัทธาอดีตกับผู้ที่ศรัทธาสิ่งที่มาใหม่ในปัจจุบันและในอนาคต เกิดขึ้นได้เพราะความรู้เพื่อสังคมส่วนรวมที่สามารถสร้างสรรค์ขึ้นได้โดยทุกผู้คนในสังคม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2566
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นบทบัญญัติที่ออกมาเพื่อทำหน้าที่ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” อันมาจากแนวคิด “ประชาธิปไตยที่ป้องกันตัวเอง” แต่เมื่อพิจารณาจากการบังคับใช้จริงในสังคมไทยผ่านมา ย่อมเกิดการตั้งคำถามว่า แท้จริงแล้วกฎหมายมาตรานี้ถูกใช้เพื่อ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” ของ “ใคร” หรือจาก “อะไร” กันแน่
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา
26
กรกฎาคม
2566
หนึ่งในปัจจัยสำคัญและแสนยากเข็ญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองคือ การเปลี่ยนทัศนคติและมุมมองทางการเมือง ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับบุคคลที่จะเปลี่ยนความเชื่อหรือฟากฝั่งที่ตนยึดถือมาตลอด โดยเฉพาะกับบุคคลที่มีผลประโยชน์ผูกพันกับความเชื่อดังกล่าว โดยเฉพาะชนชั้นนำอนุรักษนิยม