ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มีนาคม
2567
ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ท่านเป็นผู้ที่มีเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐศาสตร์ อีกทั้งยังได้ดำรงตำแหน่งทีสำคัญในหน่วยงานต่างๆ เช่น กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง, ธนาคารแห่งชาติ รวมถึงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แนวคิด-ปรัชญา
8
มีนาคม
2567
สถานการณ์ของคดีการข่มขืน ในทวีปยุโรปนั้น นับว่ามีความน่าเป็นห่วงอย่างมาก เพราะนอกจากจะเกิดขึ้นกับเยาวชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปแล้ว แถมยังพบอีกว่ามีไม่กี่ประเทศที่สามารถจัดการขั้นเด็ดขาดไม่ว่าจะในเชิงปฏิบัติและเชิงกฎหมาย
แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2567
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ไม่ว่าจะเป็นเสียงส่วนมาก หรือเสียงส่วนน้อยก็ตาม จะต้องมีการเคารพในผลการตัดสินซึ่งกันและกัน ไม่ใช่เพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยึดแต่ส่วนตนเท่านั้น จึงจะทำให้การเมืองนั้นเกิดความมีเสถียรภาพ
แนวคิด-ปรัชญา
6
มีนาคม
2567
วิทยาศาสตร์ในทางปรัชญา คือ สสารทางสังคม ที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ที่มักจะสังเกตสิ่งรอบตัว เพื่อที่จะนำมาพิเคราะห์หาข้อเท็จจริง และการกำหนดกฎเกณฑ์ภายในสังคมนั้น
ศิลปะ-วัฒนธรรม
5
มีนาคม
2567
The Land of Smile (ดินแดนแห่งรอยยิ้ม) ละครเวทีแนวโอเปอเรตตา ที่ถ่ายทอดเรื่องราวความรักของหญิงสาวและเจ้าชายหนุ่ม ท่ามกลางความแตกต่างทางวัฒนธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2567
วิทยาศาสตร์ เป็นสิ่งที่ทำให้เราได้เข้าใจหลักความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันแล้ว ยังช่วยให้เราเพลิดเพลินกับการสืบเสาะบางอย่างเพื่อที่จะค้นหาคำตอบในสิ่งที่ยังไม่รู้
ชีวิต-ครอบครัว
2
มีนาคม
2567
ขบวนการก้าวกระโดดครั้งใหญ่ ในปี 2501 มีผลเสียต่อประเทศจีนอย่างมาก เนื่องจากได้เกิดภัยพิบัติทั่วทั้งประเทศ ไม่ว่าจะเป็น ภัยแล้ง อุทกภัย ซึ่งส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติขาดแคลน และเศรษฐกิจของจีนตกต่ำลง
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2567
การเกิดของคณะ ร.ศ. 130 มีจุดมุ่งหมายในการปกครองแบบตะวันตก ซึ่งจะทำให้ประเทศไทยนั้น มีความเจริญทัดเทียมกับนานาประเทศ
บทสัมภาษณ์
29
กุมภาพันธ์
2567
เนื่องในโอกาสครบรอบ 129 ปีชาตกาล หม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล ผู้เป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ได้ผ่านเหตุการณ์สำคัญมากมาย ที่ทำให้ชีวิตต้องพลิกผลันและได้พบกับท่านปรีดี พนมยงค์ จนนำไปสู่การสร้างหอสมุดดำรงราชานุภาพ
แนวคิด-ปรัชญา
28
กุมภาพันธ์
2567
ในปัจจุบันนี้คำว่า ‘พีลอสโซฟี' หรือ 'ปรัชญา’ ได้มีการให้ความหมาย คือ “ยอดสรุปของวิชาทั้งหลาย“ หรือ “วิทยาของวิทยาทั้งหลาย“ นอกจากนี้ยังมีความเชื่อมโยงกับความหมายทางภาษาบาลี - สันสกฤต ของคำว่า “ธรรม“ อีกด้วย