ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

แนวคิด-ปรัชญา
11
มีนาคม
2568
อนุสรณ์ ธรรมใจ เสนอประเด็นยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ Landbridge ภายใต้ดุลยภาพแห่งอำนาจของจีนและสหรัฐอเมริกาโดยเชื่อมโยงกับข้อเสนอของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อปี 2478 โดยเฉพาะเรื่องทุนเพื่อไม่ให้ชาติเสียเอกรราชและอธิปไตย
บทสัมภาษณ์
10
มีนาคม
2568
ในวาระครบรอบ 109 ปี ชาตกาล ศาสตราจารย์ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ นักเศรษฐศาสตร์เสรีไทยคนสำคัญ สถาบันปรีดี พนมยงค์ โดยกล้า สมุทวณิช ได้รับเกียรติให้พูดคุยกับ ดร.โอฬาร ไชยประวัติ ซึ่งมีโอกาสทำงานใกล้ชิดกับ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์
10
มีนาคม
2568
เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา “สถาบันปรีดี พนมยงค์” ร่วมกับ “วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์” จัดงานเสวนาวิชาการ “อนาคตเส้นทางเศรษฐกิจ คลองไทย - คลองกระ - Landbridge จากวิสัยทัศน์ปรีดี พนมยงค์ สู่ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจโลกแห่งศตวรรษที่ 21” ณ ห้อง PBIC 211 ชั้น 2 ตึก 60 ปี วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
วันนี้ในอดีต
10
มีนาคม
2568
108 ปี ชาตกาล ไสว สุทธิพิทักษ์ ณ วันที่ 10 มีนาคม 2568 เสนอชีวประวัติ ผลงาน และสะท้อนความสัมพันธ์ของ ดร.ไสว กับนายปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ โดย ดร.ไสว อุทิศชีวิตทำงานเพื่อชาติโดยเฉพาะมิติการศึกษาและด้านเศรษฐกิจ
บทบาท-ผลงาน
10
มีนาคม
2568
รวมเอกสารทางการทูตฯ ในช่วงปี 2488 ระหว่างสงครามโลก ครั้งที่ 2 ซึ่งเน้นบันทึกและโทรเลขของอังกฤษและไทย ทั้งเรื่องปฏิบัติการเสรีไทยและความสัมพันธ์รวมถึงความขัดแย้ง การต่อรองทางการทูตระหว่างสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มีนาคม
2568
ซ่ง ชิงหลิง นักปฏิวัติและนักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยและสิทธิสตรีจีน เธอสานต่ออุดมการณ์ของซุน ยัตเซ็น ทั้งในทางการเมืองและยกระดับสถานะสตรีจีน ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ของเธอและครอบครัวสะท้อนบทบาทสตรีจีนสมัยใหม่ที่มีความกล้าหาญ
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
มีนาคม
2568
ประวัติความเป็นมาของวันสตรีสากล เนื่องในวันสตรีสากล ปี 2568 สะท้อนการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจและเพื่อสันติภาพ รวมถึง “สิทธิ” และสวัสดิการของแรงงานปัจจุบันมาจากการเสียสละเลือดเนื้อของขบวนการแรงงานสตรีในอดีต
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
มีนาคม
2568
เนื่องในวันสตรีสากลปี 2568 ขอเสนอชีวิตและงานของ "ฮัน ซูหยิน" นักเขียนหญิงลูกครึ่งจีน-เบลเยียม ผู้เป็นทั้งแพทย์และนักเคลื่อนไหวทางสังคมซึ่งได้ถ่ายทอดชีวิตรักและการต่อสู้ผ่านงานเขียนทางสังคม การเมือง และความเป็นหญิงอย่างลึกซึ้ง
บทบาท-ผลงาน
8
มีนาคม
2568
เอกสารทางการทูตในระหว่างสงครามโลก ครั้งที่ 2 แสดงให้เห็นถึงการเจรจาลับทางการทูตต่ออังกฤษและสหรัฐอเมริกา ทั้ง 2 ประเทศนี้มีความเห็นต่างกันโดยสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มสนับสนุนไทยให้เป็นอิสระจากอิทธิพลของอังกฤษ
บทบาท-ผลงาน
7
มีนาคม
2568
เอกสารทางการทูตชุดนี้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์สะท้อนถึงความสัมพันธ์ทางการทูตสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 ของขบวนการเสรีไทยกับสหรัฐอเมริกา และอังกฤษเพื่อต่อต้านกองทัพญี่ปุ่นและปกป้องเอกราชอธิปไตยของไทย