ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มิถุนายน
2568
สงวน ตุลารักษ์ เป็นสมาชิกคณะราษฎรที่ร่วมเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 และร่วมขบวนการเสรีไทยต่อต้านญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยหลังสงครามได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตไทยคนแรกประจำจีน แต่ลาออกหลังรัฐประหารปี 2490 เพราะยึดมั่นในอุดมการณ์ประชาธิปไตย
วันนี้ในอดีต
16
มิถุนายน
2568
รำลึกถึงบทบาทของหม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ ในฐานะนักเรียนไทยในอังกฤษผู้ร่วมก่อตั้งขบวนการเสรีไทยสายอังกฤษ โดยชีวิตและภารกิจของท่านสะท้อนความยึดมั่นในอุดมการณ์เสรีภาพ ที่กลายเป็นรากฐานของบทบาททางวิชาการและสาธารณะในเวลาต่อมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มิถุนายน
2568
รัฐบาลไทยภายใต้การนำของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ได้ประกาศสันติภาพ ยกเลิกการประกาศสงครามของจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยถือว่าเป็นโมฆะและไม่ผูกพันประชาชนชาวไทย เพื่อแสดงเจตจำนงของชาติที่แท้จริงที่ต้องการสันติภาพ และฟื้นฟูความสัมพันธ์กับสหประชาชาติ
15
มิถุนายน
2568
ค่ำวานนี้ (14 มิถุนายน 2568) มูลนิธิ - สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมเป็นเจ้าภาพในงานสวดพระอภิธรรมศพ คุณวิระ โอสถานนท์ (ม.ว.ม, ป.ช) บุตรชายนายวิลาศ โอสถานนท์ อดีตสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนและประธานพฤฒสภาคนแรก
แนวคิด-ปรัชญา
15
มิถุนายน
2568
นายปรีดี พนมยงค์ อธิบายว่าความคิด "ไม่มีชาติ" เกิดจาก 3 สาเหตุหลัก คือ จิตสำนึกทางสังคมของผู้ถูกถอนสัญชาติ ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับคำสอนของมาร์กซ์ที่ว่า "กรรมกรไม่มีชาติ" และอิทธิพลจากลัทธิอนาธิปไตยและอนาร์โค-ซินดิคาลิสม์ โดยยังสรุปว่าความรักชาติเกิดจากความเห็นแก่ส่วนรวมไม่ใช่ส่วนตัว
14
มิถุนายน
2568
ประชาชนอ่านข่าวโดยขาดการวิเคราะห์อย่างลึกซึ้ง ทำให้เกิดความเข้าใจผิดเกี่ยวกับข่าวการเมือง โดยเฉพาะข่าวที่มีจุดประสงค์เพื่อโฆษณาชวนเชื่อ ข่าวประเภทนี้อาจก่อให้เกิดความรุนแรงมากกว่าการให้ความรู้ ดังนั้น สื่อมวลชนจึงต้องยึดมั่นในความซื่อสัตย์ เพื่อให้ประชาชนมีวิจารณญาณในการรับข้อมูล
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
มิถุนายน
2568
แนวคิดของกุหลาบ สายประดิษฐ์ ที่เสนอแนวทางปฏิวัติทางภูมิปัญญาโดยให้ความสำคัญกับ “ความเป็นมนุษย์” ที่เท่าเทียมกันในระดับพื้นฐาน ไม่ว่ามนุษย์จะมีที่มาแบบใด ล้วนมีศักยภาพแห่งเหตุผลและจิตสำนึกเท่าเทียมกัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
มิถุนายน
2568
วิเคราะห์ช่วงอวสานของสงครามแปซิฟิก โดยเจาะลึกยุทธศาสตร์ของฝ่ายสัมพันธมิตรและการยอมแพ้ของญี่ปุ่น พร้อมทั้งชี้ให้เห็นบทบาทของไทยในฉากเปลี่ยนผ่านสู่โลกหลังสงครามภายใต้แรงกดดันของอำนาจโลก
บทบาท-ผลงาน
12
มิถุนายน
2568
รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ มีแนวคิดเศรษฐกิจที่เน้นความเป็นธรรม เสมอภาค และเอกราชของชาติ โดยสนับสนุนสหกรณ์สังคมนิยม การจัดสวัสดิการถ้วนหน้า และการใช้เทคโนโลยีพัฒนาเศรษฐกิจ ช่วงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
แนวคิด-ปรัชญา
11
มิถุนายน
2568
ขบวนการเสรีไทยที่ร่วมมือกับ OSS และ SOE เพื่อต่อต้านญี่ปุ่น โดยทำงานลับผ่านการสื่อสาร ข่าวกรอง และฝึกพลพรรคทั่วประเทศ ขณะที่ท่านปรีดีวางแผนจัดตั้งรัฐบาลนิยมสัมพันธมิตรในเวลาที่เหมาะสม