ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

บทสัมภาษณ์
25
กุมภาพันธ์
2565
บทสัมภาษณ์สุด exclusive กับ ‘คุณภักดี ธนะปุระ’ อดีตกรรมการและผู้อำนวยการฝ่ายงานระหว่างประเทศ สมาคมคลองไทย กับการพูดคุยถึงความเป็นมาเรื่องคอคอดกระ แนวความคิดท่านปรีดีในอดีต และอัปเดตความเป็นไปในปัจจุบันถึงโครงการนี้ว่ามีความเป็นอย่างไรบ้าง
แนวคิด-ปรัชญา
24
กุมภาพันธ์
2565
โครงการสร้างคลองเชื่อมระหว่างทะเลอันดามันกับอ่าวไทยนั้นยังคงเป็นโครงการขนาดใหญ่ที่ถูกพูดถึงอยู่ทุกสมัยตลอดเวลา และอาจจะถูกพูดถึงอีกตลอดไปเรื่อยๆ ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
กุมภาพันธ์
2565
‘รวินทร์ คำโพธิ์ทอง’ นำเสนอพรมแดนความรู้ของการรัฐประหาร ภาพรวมจากการศึกษาผลงานสำคัญในการวิเคราะห์การรัฐประหารว่าสาเหตุและลำดับเหตุการณ์อย่างไร โดยหลักมาจากการเสียผลประโยชน์ของกลุ่มธุรกิจที่อิงการแสวงหาผลประโยชน์กับอำนาจนิยมเดิม สภาพปัญหาการคอร์รัปชันของรัฐบาลชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นเงื่อนไขสำคัญของการก่อการในครั้งนี้
แนวคิด-ปรัชญา
22
กุมภาพันธ์
2565
บทความของศาสตราจารย์ ดร.กนต์ธีร์ ศุภมงคล อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอน เสนอมุมมองคลองกระกับปัญหาความมั่นคง โดยเปรียบเทียบประวัติศาสตร์การขุดคลองสำคัญ 3 แห่งในมิติความมั่นคงระหว่างประเทศ คือ คลองสุเอซ คลองคีล และ คลองปานามา
แนวคิด-ปรัชญา
21
กุมภาพันธ์
2565
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' จะมาพิจารณาในแง่ของความเป็นมา และผลประโยชน์ในทางเศรษฐกิจของคลองทั้งสอง และคลองสุเอซกับปัญหาต่างๆ รวมถึงการเข้ามาเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ของอังกฤษ และ ผลประโยชน์ของคลองสุเอซในปัจจุบัน เป็นต้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กุมภาพันธ์
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : เส้นทางหลบหนี   เช้าตรู่ของวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) ขณะชาวนครหลวงเวียงจันทน์ตื่นนอนตอนเช้าก็พบว่าเกิดรัฐประหารยึดอำนาจรัฐแล้ว นำโดย ร้อยเอกกองแล โรรัง ผู้บังคับกองพันราบอากาศ พร้อมด้วย ร้อยโทเดือน สุนนะลาด รอง ผ.บ. พัน และร้อยตรีเทียบ ลิดทิเดด มีสารวัตรทหารส่วนหนึ่งเข้าร่วมทำการ และสมทบด้วยทหารอีกส่วนจากค่าย “จินายโม้” รวมกำลังพลประมาณ 800 คน  
ศิลปะ-วัฒนธรรม
18
กุมภาพันธ์
2565
ผมเพิ่งมีโอกาสได้รู้จักกับ คุณดุษฎี พนมยงค์ (ขอเรียกสั้นๆ ว่า “ครูดุษ”) ตัวจริงและเสียงจริงเมื่อราว ๔๐ ปีที่แล้ว ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ คุณดุษไปอยู่ที่นั่นเพื่อศึกษาศิลปะการร้องเพลงเพิ่มเติมต่อจากที่เรียนมาแล้วจากประเทศจีน     
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2565
  วันนี้ 17 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2565 ครบรอบ 67 ปี แห่งการประหาร 3 จำเลยคดีสวรรคตรัชกาลที่ ๘ นายเฉลียว ปทุมรส .. จำเลยที่ 1 นายชิต  สิงหเสนี .. จำเลยที่ 2 นายบุศย์ ปัทมศริน .. จำเลยที่ 3
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2565
ครั้นแล้ววันพุธที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๘ สถานการณ์ในเรือนจำมหันตโทษก็เริ่มเคร่งเครียด ไม่มีใครรู้ว่าอะไรจะเกิดขึ้น นอกจาก ขุนนิยมบรรณสาร ผู้บัญชาการเรือนจำเท่านั้นที่กำความลับไว้ ทุกคนต่างพากันปฏิบัติไปตามคำสั่งโดยไม่รู้ว่าอะไรจะเกิดขึ้น เมื่อ ๑๗.๐๐ น. ได้มีประกาศประชุมด่วน ห้ามมิให้พนักงานทุกคนออกไปจากเรือนจำอย่างเด็ดขาด ผู้ต้องขังทั้งหมดถูกจัดให้เข้าเรือนขังหมดก่อนปกติ คือก่อน ๑๗.๐๐ น. มหันตโทษอันกว้างใหญ่และเต็มไปด้วยเสียงมาตลอดทั้งวัน พลันก็เงียบลงอย่างฉับพลัน