ข่าวสารและบทความ
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
29
กรกฎาคม
2565
"สายธารแห่งวรรณกรรมศรีบูรพา" ผ่านบทบาทของ 'วัฒน์ วรรลยางกูร' หนึ่งในผู้รอดชีวิตจากการสังหารหมู่เมื่อ 6 ตุลาคม 2519 ผู้ซึ่งยังคงถ่ายทอดอุดมการณ์ผ่านงานเขียนจนวาระสุดท้ายของชีวิต โดยวิเคราะห์ภายใต้บริบทของเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ คือ เหตุการณ์ ‘เมษา-พฤษภา 53’
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2565
'ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ผู้ที่ศรัทธาในความยุติธรรม เชื่อมั่นในความเท่าเทียม เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และปรารถนาที่จะเห็นโลกแห่งประชาธิปไตยที่สมบูรณ์พร้อมด้วยสันติประชาธรรม ตลอดจนมรดกทางความคิดที่ป๋วยได้สร้างไว้ขณะมีชีวิต คือ อุดมการณ์ที่ส่งต่อเพื่อจุดประกายให้แก่คนรุ่นหลังตลอดมา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2565
"ยุทธการปลดล็อคท้องถิ่น" แก้ไขกฎหมายเพื่อเพิ่มอำนาจในการจัดทำบริการสาธารณะเป็นการทั่วไป และแก้ไขเพื่อเร่งรัดการถ่ายโอนภารกิจ อีกทั้งทลายข้อจำกัดที่เกิดจากปัญหาด้านการเงิน ด้วยกลยุทธ์ในการบริหารงบประมาณ รวมไปถึงการปรับมุมมองของหน่วยงานรัฐส่วนกลางที่มีต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กรกฎาคม
2565
ปฏิกิริยาของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร ภายใต้บริบทเมื่อจักรวรรดิญี่ปุ่นได้ปักธงบนผืนแผ่นดินไทย ผ่านเอกสารทางประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญ ได้แก่ "บันทึกโทรเลขลับจากอังกฤษ" สาส์นสำคัญจาก 'วินสตัน เชอร์ชิลล์' นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรในขณะนั้น ด้วยการตอบคำถามและวิเคราะห์ โดยนายปรีดี พนมยงค์ ณ ที่ประชุมสามัคคีสมาคม เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2518
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
กรกฎาคม
2565
ปรีดี พนมยงค์ ได้ถ่ายทอดเหตุการณ์ระหว่างตอนค่ำ 7 ธันวาคม ถึงตอนเช้า 8 ธันวาคม 2484 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ผ่านบันทึกการประชุม ครม. ครั้งสำคัญ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
24
กรกฎาคม
2565
นายปรีดี พนมยงค์ หรือ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2481 เรื่อยมาจวบจนกระทั่งวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ภายหลังกองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกรุกเข้ามาในเมืองไทยประมาณหนึ่งสัปดาห์เศษ สภาผู้แทนราษฎรปรึกษาหารือกันพร้อมลงมติแต่งตั้ง นายปรีดี ให้ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 ถือเป็นการแต่งตั้ง สืบเนื่องจาก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์คนเดิมถึงแก่อสัญกรรม
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
23
กรกฎาคม
2565
ความสำเร็จของ “กรุงเทพกลางแปลง” เทศกาลหนังกลางแปลงที่จะถูกจัดขึ้นตั้งแต่ วันที่ 7-31 กรกฎาคม 2565 โดยความร่วมมือของภาครัฐ (กรุงเทพมหานคร) และเอกชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
กรกฎาคม
2565
มูลเหตุที่เลือกเรียนกฎหมาย
คุณแร่มได้เล่าให้ฟังว่า เดิมทีมิได้คิดจะเรียนกฎหมาย ตั้งใจจะเรียนแพทย์ เมื่อจบประโยคมัธยมบริบูรณ์ได้ไปสมัครสอบเข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไว้แล้วด้วย แต่เผอิญรอฟังผลการสมัครสอบเข้าอยู่นาน เนื่องจากมิได้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนรัฐบาล (ขณะนั้นผู้ที่สำเร็จมัธยมศึกษาจากโรงเรียนรัฐบาลสามารถเข้าศึกษาต่อในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้โดยไม่ต้องสอบเข้า) และเกรงว่าจะเข้าไม่ได้ด้วย จึงได้ไปสมัครเข้าโรงเรียนกฎหมายของกระทรวงยุติธรรม โดยได้รับการสนับสนุนจากบิดาเป็นผู้พาไปสมัครต่อเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมในขณะนั้น คือเจ้าพระยาพิชัยญาติ ซึ่งหลังจากถูกซักถามและอบรมอยู่วันหนึ่งเต็
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
20
กรกฎาคม
2565
พี่หน่อยเป็นธิดาของ ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน (ท่านชิ้น) ซึ่งเป็นพระเชษฐาของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7