ข่าวสารและบทความ
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
20
กรกฎาคม
2565
ม.ร.ว.สายสวัสดี สวัสดิวัตน หรือ “ป้าหน่อย” เปรียบเสมือนญาติผู้ใหญ่ของครอบครัวปรีดี-พูนศุข ที่มีความใกล้ชิดผูกพันกันมายาวนาน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
กรกฎาคม
2565
“การกระจายอำนาจ” เป็นพื้นฐานของการปกครองสมัยใหม่ ซึ่งต้องการกระจายบทบาทของการจัดทำบริการสาธารณะจากรัฐส่วนกลางไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความใกล้ชิดกับประชาชน
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
18
กรกฎาคม
2565
จากต้นปี 2565 จนถึงกลางปี แวดวงวรรณกรรมและศิลปวัฒนธรรม ต้องสูญเสียคนทำงานสร้างสรรค์ที่มีจุดยืนประชาธิปไตยคนสำคัญติดๆ กัน อย่างน้อยถึงสี่ราย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กรกฎาคม
2565
กองทัพญี่ปุ่นยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขต่อฝ่ายสัมพันธมิตรเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1945 ทำให้ดินแดนเวียดนามตกอยู่ในสภาพสุญญากาศ ปราศจากรัฐบาลใดๆ ปกครองประเทศ เพราะญี่ปุ่นยึดอำนาจเบ็ดเสร็จในอินโดจีนจากฝรั่งเศสเพียงไม่กี่เดือนก่อนการยอมจำนนเปิดโอกาสให้เวียดมินห์ทำการยึดอำนาจมาอยู่ในมือของประชาชนเวียดนามอย่างแท้จริง
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2565
เนื่องในวาระคล้ายวันเกิด 16 กรกฎาคม ของ วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ บุตรสาวคนสุดท้องของครอบครัวปรีดี-พูนศุข ที่ได้รับมรดกทางความคิดและนิสัยรักในความรู้ทางประวัติศาสตร์คล้ายปรีดี พนมยงค์ บิดา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
15
กรกฎาคม
2565
นายสุภา ศิริมานนท์ ผู้เป็นกัลยาณมิตร (15 กรกฎาคม 2457 - 15 มีนาคม 2529)
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กรกฎาคม
2565
สะพานปรีดี-ธำรง เริ่มสร้างในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2483 แล้วเสร็จภายใน 3 ปี และเปิดใช้วันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2486 ซึ่งตรงกับวันเกิดของจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
กรกฎาคม
2565
นับแต่ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้เกิดกระแสความตื่นตัวของหลากหลายกลุ่มคนที่แสดงความนิยมยินดีและส่งเสริมสนับสนุนต่อระบอบประชาธิปไตย มุ่งมั่นเทิดทูนรัฐธรรมนูญ รวมถึงศรัทธาในหลักการของ คณะราษฎร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2565
การศึกษาประวัติศาสตร์คณะราษฎรในมุมมองใหม่เริ่มต้นราวปลายทศวรรษ 2520 ทั้งมีงานเชิงวิชาการที่เสนอการตีความเหตุการณ์ 24 มิถุนายน 2475 จากฝ่ายที่เห็นด้วยและเห็นต่างไว้ 4 รูปแบบ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2565
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อมีบุคคลปริศนาเข้าเปลี่ยนป้าย “สะพานพิบูลสงคราม” บริเวณใกล้ๆ แยกเกียกกาย เป็นชื่อสะพาน “ดิ่น ท่าราบ”