ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

บทสัมภาษณ์
2
พฤษภาคม
2564
  ในวันที่ 2 พฤษภาคม 2526 ในเวลาประมาณช่วงบ่ายๆ ดิฉันนั่งอยู่ที่วัดป่าจิตตวิเวก ประเทศอังกฤษ เพราะเดินทางไปกราบท่านเจ้าคุณปัญญาฯ เนื่องจากท่านเดินทางมาที่อังกฤษและมาพักที่วัด ระหว่างนั้นมีโทรศัพท์มาจากเมืองปารีส พระท่านก็ลุกขึ้นไปรับสาย และเดินกลับมาบอกว่า ท่านผู้หญิงพูนศุขโทรมาโดยอยากจะขอเชิญท่านเจ้าคุณปัญญาฯ ไปที่งานพิธีศพอาจารย์ปรีดี เพราะอาจารย์ปรีดีนั้น ได้เสียชีวิตแล้ว ดิฉันนั่งอยู่ด้วยตรงนั้น ท่านเจ้าคุณปัญญาฯ ได้ตอบตกลงว่าไป
บทสัมภาษณ์
1
พฤษภาคม
2564
PRIDI Interview Ep.2 ศิริกัญญา ตันสกุล รองหัวหน้าพรรคก้าวไกล ดำเนินงานทางด้านนโยบาย ผู้หญิงยุคใหม่ที่มีแนวคิดก้าวหน้า กับการชวนคุยในเรื่อง "รัฐสวัสดิการ" และ “ความสำคัญถึงความจำเป็นที่ประเทศไทยจะต้องเป็นรัฐสวัสดิการ”
แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2564
จากการที่ได้มีโอกาสศึกษาและทำความเข้าใจเค้าโครงการเศรษฐกิจมาบ้างนั้น ผู้เขียนมักจะตั้งคำถามกับตัวเองเสมอว่า หากเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ได้รับการนำเสนอในปี ๒๔๗๖ ได้รับการยอมรับและถูกประกาศใช้ผ่านร่างกฎหมายที่สำคัญ ๒ ฉบับ ได้แก่ ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกอบเศรษฐกิจ พุทธศักราช ๒๔๗๖ และร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร พุทธศักราช ๒๔๗๖ แล้วสังคมสยามในเวลานั้น และในเวลาต่อมาจะพึงมีรูปร่างหน้าตาเปลี่ยนแปลงไปเช่นไรบ้าง  
แนวคิด-ปรัชญา
28
เมษายน
2564
เวลาที่เราบอกถึงกระแสความเข้าใจ ความต้องการของรัฐสวัสดิการ มันจึงมีความเกี่ยวพันกับการนิยาม “ความเป็นคน” สิ่งหนึ่งที่ผมอยากย้ำ ในเวลาที่เราคุยกันเรื่องสวัสดิการ ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า มันคือเรื่องการเมือง มันคือการต่อสู้ มันคือการยืนยันว่าคนเท่ากัน”
แนวคิด-ปรัชญา
27
เมษายน
2564
เพื่อที่การประกอบเศรษฐกิจจะได้ดำเนินไปโดยเรียบร้อยและได้ผลดี รัฐบาลก็จำต้องวางแผนเศรษฐกิจแห่งชาติ การวางแผนเศรษฐกิจแห่งชาตินี้จะต้องคำนวณและสืบสวนเป็นลำดับดั่งต่อไปนี้
แนวคิด-ปรัชญา
26
เมษายน
2564
นโยบายรัฐสวัสดิการแบบถ้วนหน้าครบวงจร ไม่ใช่นโยบายทางเศรษฐกิจเพียงลำพัง หากวางอยู่บนความเป็นประชาธิปไตยทางการเมืองและปรัชญามนุษย์นิยม การพัฒนานโยบายนี้ในประเทศไทยจึงไม่ใช่ข้อจำกัดทางเศรษฐกิจที่เป็นปัจจัยเครื่องมือเท่านั้น
บทบาท-ผลงาน
25
เมษายน
2564
นับจากการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของการเมืองการปกครองประเทศ ได้มีผู้แทนราษฎรชั่วคราวชุดแรกจำนวน 70 คน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก “คณะราษฎร” ทำการประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 โดยใช้ห้องโถงชั้นบนของพระที่นั่งอนันตสมาคมเป็นที่ประชุม
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
เมษายน
2564
  บ่ายวันอังคารที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ผมสบโอกาสเข้าร่วมสัมภาษณ์คุณสุดา และคุณดุษฎี พนมยงค์ บุตรีของนายปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ พร้อมคุณยงจิตต์ สุนทร-วิจารณ์ หลานชายผู้ใกล้ชิดขณะพำนักอยู่ในฝรั่งเศส ระหว่างสนทนาตอนหนึ่ง คุณยงจิตต์กล่าวถึงการที่เคยขับรถยนต์พานายปรีดีเดินทางไปเยี่ยมหลุมฝังศพอาจารย์ชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งนายปรีดีเคารพรักและนับถือมากๆ ณ สุสานต่างเมืองช่วงเดือนพฤศจิกายนเป็นประจำทุกๆ ปี  พอเล่าตรงจุดนี้ ผมจึงเอ่ยถามคุณยงจิตต์ว่า  “อาจารย์ชาวฝรั่งเศสคนนั้นคือใคร?”   “ใช่อาจารย์เลเดอแกร์หรือเปล่า?” 
แนวคิด-ปรัชญา
23
เมษายน
2564
“การที่จะส่งเสริมให้ราษฎรได้มีความสุขสมบูรณ์นั้น ก็มีอยู่ทางเดียว ซึ่งรัฐบาลจะต้องเป็นผู้จัดการเศรษฐกิจเสียเอง โดยแบ่งการเศรษฐกิจนั้นออกเป็นสหกรณ์ต่างๆ” โดยให้รัฐเป็นผู้วางแผน ส่วนสหกรณ์มีหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานและดำเนินการโดยสมาชิกในสหกรณ์นั้นๆ
บทบาท-ผลงาน
22
เมษายน
2564
นายปรีดี พนมยงค์ ได้ร่างแผนเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับนี้ และ อธิบายแนวคิดและแนวทางของปัญหาที่เกิดขึ้น ณ สังคมไทยยุคนั้นอย่างละเอียด อย่างเช่นว่า หากเจ้าของที่ดินไม่ได้รับผลจากที่ดินเพียงพอ รัฐบาลจะยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือด้วยวิธีใดได้บ้าง?