ข่าวสารและบทความ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ก่อการรัฐประหารส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการ เริ่มแรกบรรดาผู้ก่อการต่างคนต่างคิดมีทั้งหมด 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีพวกพ้องของตนโดยเฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งทั้ง หมดได้มาพบปะและรู้ความประสงค์ซึ่งกันและกัน โดยใช้วัตถุประสงค์ที่ร่วมกันร่างเป็น "ข้ออ้าง" ในการกระทำรัฐประหารในครานั้น
บทความ • บทสัมภาษณ์
2
กุมภาพันธ์
2564
ก่อนหน้าที่จะมีรัฐประหาร มีข่าวลือว่าจะเกิดปฏิวัติรัฐประหาร หนังสือพิมพ์ศรีกรุง ฉบับประจำวันที่ 28 พฤศจิกายน 2489 ลงข่าวว่ารัฐบาลสั่งเตรียมพร้อม เนื่องจากว่ามีข่าวเรื่องนายทหารชั้นประทวนคบคิดกันจะใช้กำลังล้มล้างรัฐบาลในเดือนกรกฎาคม 2490
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กุมภาพันธ์
2564
ศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ ซึ่งเพิ่งจากโลกนี้ไปเมื่อวันที่ 16 มกราคม ที่ผ่านมานั้น นอกจากเป็นหลานลุงของนายปรีดี พนมยงค์ และเป็นอดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญแล้ว ยังเป็นนักกฎหมายมหาชนคนสำคัญอีกคนหนึ่งของประเทศไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มกราคม
2564
'ดุษฎี พนมยงค์' ได้ทำการตรวจทานข้อเท็จจริงอีกครั้งจากพยานบุคคลหลายราย จนนำมาสู่ข้อเท็จจริงใหม่ในบทความขนาดสั้นเรื่องนี้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
30
มกราคม
2564
กว่าจะเป็น #วัดพระศรีมหาธาตุ ในปัจจุบัน วัดนี้เคยใช้ชื่อว่า #วัดประชาธิปไตย มาก่อน เพราะเป็นผลสืบเนื่องมาจากการปราบ #กบฏบวรเดช (พ.ศ. 2476) ในบริเวณนั้น และยังเป็นการทำนุบำรุงพุทธศาสนา ให้เป็นที่รวมคณะสงฆ์ "มหานิกาย” และ “ธรรมยุติกนิกาย” เข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มกราคม
2564
วันนี้ในอดีต (วันที่ 29 มกราคม 2526) งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 39 ณ สนามศุภชลาศัย มีการแปรอักษครั้งประวัติศาสตร์เป็นภาพนายปรีดี พนมยงค์ พร้อมบทกลอนอมตะที่ว่า
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มกราคม
2564
เหตุใด ปรีดี พนมยงค์ จึงประกาศอย่างชัดเจนว่า นักวิชาการไม่ควรสอนต่อ ๆ กันเช่นนี้ หาคำตอบได้จากบทความชิ้นนี้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
มกราคม
2564
นายปรีดี พนมยงค์ เคยวิเคราะห์ไว้ที่ประวัติศาสตร์ไทยมีเรื่องของนิยายอยู่มากเป็นเพราะเหตุใด
บทความ • บทบาท-ผลงาน
26
มกราคม
2564
นายปรีดียังได้ชี้แจงแสดงหลักฐานไว้ด้วยว่า เวลานั้นรัฐบาลจอมพล ป. ประกาศสงครามต่อสหรัฐฯ ผ่านช่องทางใด?