ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2564
ปัญหาการแพร่ระบาดของ COVID-19 รวมทั้งปัญหาวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจนั้น ได้ทำให้ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในวันนี้วิทยากรทั้งหลายที่จะมาร่วมเสวนาก็จะได้ร่วมกันมองว่า “เราจะฝ่าวิกฤตนี้ไปได้อย่างไร”
แนวคิด-ปรัชญา
28
มิถุนายน
2564
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 นโยบายการสาธารณสุขมีเป้าหมายเพื่อให้ราษฎรของประเทศ ‘กินอิ่มนอนอุ่น’ กันอย่างเสมอภาค
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มิถุนายน
2564
ในปัจจุบันเมื่อพูดถึงรัฐธรรมนูญ คนส่วนใหญ่คงรู้และเข้าใจได้ว่า “รัฐธรรมนูญ” หมายถึง ชื่อของกฎหมายที่กำหนดระเบียบแห่งอำนาจสูงสุดในรัฐและความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจเหล่านี้ต่อกันและกัน
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2564
กวีนิพนธ์ของสุนทรภู่มีบทบาทสำคัญและส่งทอดอิทธิพลต่อแนวความคิดทางการเมืองของนายปรีดี พนมยงค์ หากแต่ไม่ค่อยเป็นที่รับรู้กันเท่าไหร่
25
มิถุนายน
2564
สรุปประเด็นสำคัญจาก PRIDI Talks #11 “89 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยาม: สวัสดิการและบทบาทของรัฐในการสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจแก่ประชาชน”
24
มิถุนายน
2564
วันที่ 24 มิถุนายน 2564 ทายาทคณะราษฎรร่วมทำบุญให้แก่บรรพบุรุษ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพมหานคร เนื่องในวันครบรอบ 89 ปี ของการอภิวัฒน์สยาม หรือ เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เนื่องจากการอุบัติของไวรัสโควิด19 ทำให้การจัดงานประจำปีนี้เป็นงานภายใน นำโดยนางสาวสุดา พนมยงค์ และนางดุษฎี พนมยงค์ บุญทัศนกุล ทายาทของนายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าคณะราษฎรสายพลเรือน ร่วมวางดอกไม้และทำบุญอุทิศส่วนกุศลอัฐิคณะราษฎร และถวายสังฆทาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
มิถุนายน
2564
เวลาย่ำรุ่งของวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 “คณะราษฎร” ได้ร่วมกันทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยมีรัฐธรรมนูญใช้เป็นหลักในการปกครองประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มิถุนายน
2564
ตัวอย่างรูปธรรม เช่น ในรัฐธรรมนูญ 2475 กำหนดให้ “พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปโดยกำเนิด หรือโดยแต่งตั้งก็ตาม ย่อมดำรงอยู่ในฐานะเหนือการเมือง” ด้วยเหตุดังกล่าวทำให้การใช้อำนาจใดๆ ขององค์พระมหากษัตริย์จะต้องมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
21
มิถุนายน
2564
หนังสือเล่มนี้จะเป็นประตูเชื่อมโยงแนวคิดด้านเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ เข้ากับกระแสเรียกร้องให้มีรัฐสวัสดิการของคนยุคปัจจุบัน ซึ่งอาจารย์ษัษฐรัมย์มองว่า ปรีดี พนมยงค์เป็นสัญลักษณ์ของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย การต่อสู้เพื่อความเท่าเทียม และที่สำคัญที่สุด จิตวิญญาณของปรีดี พนมยงค์ คือ “จิตวิญญาณแห่งการต่อสู้เพื่อรัฐสวัสดิการ” ที่จะนำไปสู่ความสุขสมบูรณ์ของราษฎรอย่างแท้จริง
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
มิถุนายน
2564
น้อยคนนักจะทราบเรื่องที่นายปรีดี พนมยงค์เองก็เป็นอีกบุคคลหนึ่งผู้วางแผนสำรองไว้ด้วยเช่นกัน นั่นคือ “แผนตลิ่งชัน”