ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

16
มกราคม
2564
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ขอแสดงความเสียใจต่อการจากไปของศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ ในวันที่ 16 มกราคม 2564 ด้วยวัย 88 ปี (4 ตุลาคม 2475 - 16 มกราคม 2564) นายอิสสระเป็นบุตรชายของพระนิติทัณฑ์ประภาศ (สนอง สุจริต) กับนางชวนชื่น นิติทัณฑ์ประภาศ ผู้เป็นน้องสาวร่วมบิดา-มารดาของนายปรีดี พนมยงค์ นายอิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ สำเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จากนั้นไปศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส โดยได้ Diplome d'Etudes Superieures de Droit Public และ Docteur ed droit จากมหาวิทยาลัยกอง (Universite de Caen)
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มกราคม
2564
นายปรีดีเติบโตมากับกระแสธารความเปลี่ยนแปลงบนหน้าประวัติศาสตร์ และสิ่งที่ครูเอ่ยกับเขานั้น เขาจำได้ไม่ลืมเลือนทีเดียว กล่าวคือ เมื่อฝ่ายกษัตริย์แห่งราชวงศ์แมนจูต้องพ่ายแพ้แก่ฝ่ายเก็กเหม็ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
มกราคม
2564
'ชานันท์ ยอดหงษ์' อภิปรายถึงสถานภาพของสตรีไทยในห้วงเวลาของท่านผู้หญิงพูนศุข ตั้งแต่บริบทของการศึกษาและการทำงานของหญิงไทยในสมัยนั้น มาจนถึงบทบาทและความสำคัญของท่านผู้หญิงพูนศุข ต่อชีวิตนายปรีดี พนมยงค์ และหน้าประวัติศาสตร์ไทย
บทสัมภาษณ์
14
มกราคม
2564
บันทึกความทรงจำของ ม.ร.ว.สายสวัสดี ธิดา ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน ที่มีต่อท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
บทสัมภาษณ์
13
มกราคม
2564
อ่านบทสัมภาษณ์ธิดาทั้งสองคนของท่านผู้หญิงพูนศุข ถึงบทบาทสำคัญของมารดาในฐานะผู้อยู่เคียงข้างผู้นำ อย่างนายปรีดี พนมยงค์
ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2564
ความทรงจำของครูฉลบชลัยย์ พลางกูร ซึ่งกลายมาเป็นคนใน 'ครอบครัวเดียวกัน' กับท่านผู้หญิงพูนศุข หลังการเสียชีวิตของ 'จำกัด' สามีของเธอในภารกิจเสรีไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มกราคม
2564
ตลอดระยะเวลาหนึ่งปีที่ไวรัสโควิด-19 ระบาดไปทั่วทุกมุมโลก นับเป็นวิกฤตการณ์ครั้งใหม่ที่ท้าทายการดำรงอยู่ของเผ่าพันธุ์มนุษย์เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะผลกระทบในทางเศรษฐกิจและสังคมที่ตามมาทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทย
10
มกราคม
2564
เนื่องในวาระครบรอบ 109 ปีชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
10
มกราคม
2564
เสวนาออนไลน์ PRIDI Talks #8 ในวาระครบรอบ 109 ปีชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ วันเสาร์ ที่ 9 มกราคม 2564 เวลา 13.00 - 16.00 น.
ชีวิต-ครอบครัว
10
มกราคม
2564
ทัศนะของคุณครูฉลบชลัยย์ พลางกูร 'เพื่อน' ของท่านผู้หญิงพูนศุข ซึ่งใกล้ชิดกันมากในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จนได้กลายมาเป็น 'ครอบครัวเดียวกัน' ในเวลาต่อมา