ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

บทบาท-ผลงาน
25
มกราคม
2564
นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล มิได้ลงนามประกาศสงครามกับ ‘บริเตนใหญ่’ และสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งกลายมาเป็นเหตุหนึ่งในการประกาศความเป็นโมฆะ
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
มกราคม
2564
หลักภราดรภาพ คือ วิธีการและทางออกของปัญหาที่จะช่วยเยียวยาผลกระทบจากโควิด-19 ในครั้งนี้ จากหลักคิดนี้เอง เขาเสนอว่า รัฐบาลควรที่จะปรับเปลี่ยนนโยบายที่ใช้อยู่ โดยมองถึงนโยบายระยะสั้น และระยะยาว
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มกราคม
2564
วันที่ 21 ธันวาคม 2484 (หลังการบุกของญี่ปุ่นเพียง 13 วัน) จอมพล ป. ได้ลงนามในกติกาสัญญาพันธมิตรกับญี่ปุ่น และในวันที่ 25 มกราคม 2485 ในเวลาเพียงเดือนครึ่งถัดมา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามก็ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐฯ
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มกราคม
2564
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นอย่างไรบ้าง อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากบทความของศาสตราจารย์ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร
21
มกราคม
2564
มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ เป็นเจ้าภาพร่วมพิธีสวดพระอภิธรรมศพ ศ.ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ วันพุธที่ 20 มกราคม 2564
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
มกราคม
2564
ภารกิจแรก ๆ ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 'ปรีดี พนมยงค์' ซึ่งไปตรวจเยี่ยมดินแดนอีสานบริเวณชายฝั่งแม่น้ำโขง ทั้งยังข้ามฟากไปเยือนฝั่งหัวเมืองลาวที่อยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส อันเป็นภารกิจสำคัญซึ่งนำมาสู่ความเข้าใจสภาพการเมือง เศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร เพื่อกำหนดนโยบายบริหารประเทศให้สัมฤทธิ์ผลก่อนหน้าสงครามโลกครั้งที่ 2 อุบัติขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มกราคม
2564
คืนวันเสาร์ที่ 7 ธันวาคม 2484 ประเทศไทยได้เผชิญกับเหตุการณ์ที่น่าสะพรึงกลัวที่สุดในประวัติศาสตร์แห่งยุครัตนโกสินทร์ เมื่อญี่ปุ่นยื่นความจำนงของเดินทัพผ่านไทย ไปโจมตีมลายูและพม่า ซึ่งในขณะนั้นเป็นอาณานิคมของอังกฤษ
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
มกราคม
2564
บางส่วนจากทัศนะของ 'สุทธิชัย หยุ่น' ที่ตั้งข้อสังเกตต่อชีวิตและการกระทำของนายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2564
พระเทพพัชรญาณมุนี (ฌอน ชยสาโร) กล่าวรำลึกถึงท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ และแสดงธรรมาลัยเรื่อง "ความดี" ว่า "อาตมาจึงขอทำความเข้าใจเรื่องความดีในทางพระพุทธศาสนาบ้างเล็กน้อย เพื่อเป็นธรรมทานแก่ผู้อ่านทั้งหลาย โดยขออุทิศส่วนกุศลอันใดที่เกิดขึ้นจากการให้ข้อคิดครั้งนี้แก่ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ขอให้ท่านมีแต่ความสุขความเจริญในความดีทั้งหลายตลอดกาลนานเทอญ"
ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
มกราคม
2564
บทกวีของ 'วิสา คัญทัพ' (เจ้าของวรรคทองอันโด่งดังที่ว่า "เมื่อท้องฟ้าสีทองผ่องอำไพ ประชาชนย่อมเป็นใหญ่ในแผ่นดิน") ซึ่งเขียนรำลึกถึงการจากไป ของท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เมื่อเดือนพฤษภาคม 2550