ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มีนาคม
2564
วรรณกรรมเรื่อง "สี่แผ่นดิน" ที่ ส.ศิวรักษ์ หยิบยกมากล่าวถึงในงานเสวนา “Soft Power บนเส้นทางการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย" หัวข้อ ลอกคราบสี่แผ่นดิน: วิจารณ์วรรณกรรมอนุรักษ์นิยมผ่านมุมมองปัญญาชนสยาม หากว่าด้วยเรื่องของเกร็ดประวัติศาสตร์ ในเรื่องของการละเล่น จนถึงความเป็นอยู่ของสังคมสมัยรัชกาลที่ 5 นั้น ถือว่าวรรณกรรมชิ้นนี้เป็นเรื่องที่ยอดเยี่ยมมากที่สามารถถ่ายทอดเรื่องราวออกมาได้อย่างดีงาม
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
มีนาคม
2564
ภายหลังเหตุการณ์ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492 สิ้นสุดลง ได้เกิดการเริ่มต้นของปฏิบัติการกวาดล้างและจับกุมคณะผู้ก่อการฯ ภายใต้การบังคับบัญชาของพลตำรวจตรีเผ่า ศรียานนท์ ซึ่งได้ตั้งกองบัญชาการปราบปรามขึ้นที่วังปารุสกวัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มีนาคม
2564
กรณีสังหารโหดที่เกิดขึ้นช่วงทศวรรษ 2490 ยุคของคณะรัฐประหาร ผู้สนใจการเมืองไทยมักจะคุ้นเคยกับเรื่องราวฆาตกรรม 4 อดีตรัฐมนตรี ได้แก่ ดร.ทองเปลว ชลภูมิ, นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์, นายถวิล อุดล และ นายจำลอง ดาวเรือง แต่ปรากฏว่ายังมี "เหยื่อฆาตกรรมทางการเมือง" อีกมากมาย ในจำนวนนั้นมีรายชื่อ 2 พี่น้องแห่งตระกูล "บุนนาค" อยู่ด้วย คือ นายชาญ และ นายเล็ก
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
มีนาคม
2564
นายทวี ตะเวทีกุล เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทยภายในประเทศชั้นผู้ใหญ่ผู้หนึ่งซึ่งได้รับความไว้วางใจและมีความใกล้ชิดกับนายปรีดี พนมยงค์หัวหน้าขบวนการนับตั้งแต่แรกเริ่ม
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2564
ภายหลังเหตุการณ์ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2592 ได้พ่ายแพ้ กรมตำรวจได้ตั้งกองบัญชาการปราบปรามขึ้นที่วังปารุสกวัน ภายใต้การอำนวยการของพลตำรวจตรีเผ่า ศรียานนท์ จุดประสงค์หลักคือต้องการกวาดล้างนักการเมืองฝ่ายพลเรือนของนายปรีดี พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กุมภาพันธ์
2564
หลังจากหลบซ่อนตัวอยู่เป็นเวลา 5 เดือน นายปรีดี พนมยงค์ จึงตัดสินใจลี้ภัยออกจากสยามประเทศอีกครั้ง โดยมอบหมายให้ท่านผู้หญิงพูนศุขจัดหาลู่ทางในการหลบหนีและขอความช่วยเหลือจากมิตรผู้ซื่อสัตย์ทั้งชาวไทยและชาวจีนซึ่งได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดีในเรื่องของการเตรียมที่เตรียมทาง แต่ทว่าไม่ได้ราบรื่นไปเสียทั้งหมด เพราะหนทางยาวไกลนั้นเกิดอุปสรรคนานานัปการให้คอยแก้ไข ให้คอยลุ้นอยู่ตลอดกว่าจะถึงปลายทางเกือบไม่รอดหลายต่อหลายครั้ง
บทบาท-ผลงาน
27
กุมภาพันธ์
2564
ความพ่ายแพ้ของขบวนการประชาธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
26
กุมภาพันธ์
2564
ขบวนการประชาธิปไตย นั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นระบบประชาธิปไตยโดยสมบูรณ์ตามรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 จึงไม่ควรที่ผู้รณรงค์เพื่อความเป็นประชาธิปไตยจะสนับสนุนรัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่มและระบบต่าง ๆ ที่สืบเนื่องจากระบบใต้ตุ่ม โดยใส่ความว่า "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" เป็น "ขบถวังหลวง"
เกร็ดประวัติศาสตร์
25
กุมภาพันธ์
2564
นายปรีดี พนมยงค์ พร้อมด้วยนายแช่ม พรหมยงค์ นายสงวน ตุลารักษ์ เรือเอกวัชรชัย ชัยสิทธิเวช และ สิบตำรวจโทสิงห์โต ไทรย้อย ได้เดินทางออกจากสิงคโปร์ ในราวปลายเดือนพฤษภาคม 2491 ไปยังฮ่องกง และไปถึงเซี่ยงไฮ้ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2491
บทบาท-ผลงาน
24
กุมภาพันธ์
2564
นายปรีดียังรู้สึกเสียใจกับข่าวที่ 4 อดีตรัฐมนตรี และ อดีตส.ส.ภาคอีสาน ซึ่งไม่ได้ร่วมการก่อการขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ ก็ถูกตำรวจจับกุมและถูกสังหารอย่างทารุณ ซึ่งตำรวจได้อ้างว่าเป็นฝีมือของ “โจรจีนมลายู” ที่มาชิงตัวผู้ต้องหา