ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กุมภาพันธ์
2566
ชีวิตและการเคลื่อนไหวทางการเมืองของรัฐบุรุษแห่งแผ่นดินเวียดนาม 'โฮจิมินห์' ณ ประเทศฝรั่งเศส รวมไปถึงอิทธิพลทางความคิดจากการอภิวัฒน์ทางชนชั้นในรัสเซีย เมื่อ ค.ศ. 1917 ซึ่งได้สร้างสำนึกร่วมของผู้ถูกกดขี่ที่หิวโหยอิสรภาพและเสรีภาพในดินแดนอื่นๆ
10
กุมภาพันธ์
2566
กวินพร เจริญศรี เขียนถึง LUNA: The Immersive Musical Experience ละครเวทีรูปแบบใหม่ซึ่งร้อยเรียงจากตัวหนังสือ นำเสนอผ่านบทละคร ขับกล่อมไปพร้อมๆ กับบทกวีและเสียงเพลง โดยเปิดโอกาสให้ผู้ชมได้รับประสบการณ์ใหม่ด้วยการมีส่วนร่วมเป็นหนึ่งเดียวกับการดำเนินเรื่อง สะท้อนข้อคิดและแง่มุมที่ต่างกันออกไปอย่างที่ใจของแต่ละคนเลือกเดินตามหาความหมาย
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศัพท์เกิดใหม่อย่าง "กรุงเทพอภิวัฒน์" โดยวิเคราะห์ผ่านความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างภาษาและการเมือง พร้อมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของคำว่า "อภิวัฒน์" ซึ่งถูกนิยามและเชื่อมร้อยเข้ากับบริบททางการเมืองไทยเมื่อราวต้นทศวรรษ 2500 โดย นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในสมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
8
กุมภาพันธ์
2566
กุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรีบูรพา) กับข้อเขียน "เสรีภาพ" ตีพิมพ์ราวเดือนกันยายน พ.ศ. 2487 โดยเริ่มต้นจากการตั้งคำถามพื้นฐานที่ว่าด้วยเสรีภาพนั้นคืออะไร? มนุษย์ได้เสรีภาพมาอย่างไร? มนุษย์จะพึงใช้เสรีภาพอย่างไร? รวมถึงประเด็นสำคัญคือ มนุษย์จะรักษาสิ่งล้ำค่านี้ไว้ได้อย่างไร? พร้อมด้วยข้อวิพากษ์ของ "ขอบเขตของการใช้เสรีภาพ"
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
กุมภาพันธ์
2566
ภีรดา เขียนถึงการต่อสู้ทางการเมืองด้วย "การอดอาหาร" (Hunger Strike) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายทางอุดมการณ์เพื่อตอบสนองแก่ข้อเรียกร้องจนนำไปสู่การหาทางออกของสังคม ผ่านกรณีความเคลื่อนไหวทางการเมืองในต่างประเทศ และ ไทยโดย 'ฉลาด วรฉัตร' อดีตนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ที่สามารถสร้างแรงกระเพื่อมให้แก่สังคมบนหน้าประวัติศาสตร์เหตุการณ์พฤษภาประชาธรรม
7
กุมภาพันธ์
2566
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ติดตามสถานการณ์การอดอาหารประท้วงของ ทานตะวัน ตัวตุลานนท์ (ตะวัน), อรวรรณ ภู่พงษ์ (แบม) และผู้ถูกตั้งข้อหาคดีการเมืองอื่นๆ จนอาจส่งผล กระทบร้ายแรงต่อสุขภาพ ด้วยความห่วงใยเป็นอย่างยิ่ง 
แนวคิด-ปรัชญา
6
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงปัญหาเชิงวัฒนธรรมที่สืบถอดกันมาในรูปแบบโครงสร้างรัฐนิยมที่ถูกเชิดชูขึ้นมาอยู่เหนือพื้นฐานสิทธิแห่งเสรีภาพ ผ่านการแทรกซึมในชีวิตประจำวันของสังคม ไม่เว้นแม้กระทั่งชีวิตของเด็กนักเรียน
บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงเรื่องราวระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อคราวรั้งตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กับการร้องเรียนและขอความช่วยเหลือโดยกลุ่มแขกเจ้าเซ็น กรณีปัญหาความกังวลเกี่ยวกับศาสนวัตถุพระปั้นหย่า ซึ่งมีทีท่าว่าจะถูกปลอมแปลง จนอาจส่งผลต่อความเลื่อมใสของศาสนิกชน
4
กุมภาพันธ์
2566
ค่ำวานนี้ (3 กุมภาพันธ์ 2566) มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมเป็นเจ้าภาพในงานสวดพระอภิธรรม คุณไกรศรี ตุลารักษ์ ณ ศาลา 9 (วรรณ-สุพิน) วัดธาตุทอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กุมภาพันธ์
2566
การเดินทางเพื่อแสวงหาเป้าหมายแห่งชีวิต คือ การศึกษาสั่งสมหาความรู้เพื่อตอบสนองต่อเจตจำนงที่ตนได้ตั้งไว้ ตลอดช่วงเวลาดังกล่าวนักปฏิวัติผู้นี้มิได้เคยย่อท้อต่อความยากลำบาก หากฝ่าฟันทุกอุปสรรคและเก็บเกี่ยวทุกประสบการณ์เพื่อประกอบกับการกอบกู้เอกราช