ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤศจิกายน
2565
นอกจากรัฐประหาร 2490 จะเป็นจุดเริ่มต้นบทบาททางการเมืองของกองทัพแล้วนั้น เหตุดังกล่าวยังได้รื้อฟื้นองคาพยพในระบอบเก่าให้หวนคืนสู่เวทีการเมืองอีกครั้ง ซึ่งแม้จะเคยถูกยกเลิกไปครั้นเมื่อเข้าสู่ระบอบใหม่ในสมัยคณะราษฎร แต่ทว่าภายหลังการรัฐประหารในครั้งนี้องค์กรดังกล่าวได้ถูกนำกลับมาผ่านรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว 2490 หรือ "รัฐธรรมนูญใต้ตุ่มแดง" และอย่างเป็นทางการในรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492
24
พฤศจิกายน
2565
กิจกรรม ณ โรงเรียนชุมชนบ้านแม่ตาวกลางมิตรภาพที่ 26 ในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09.00 น. สืบเนื่องจากโครงการเยี่ยมชมถนนเสรีไทย ณ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก สืบเนื่องจาก คุณชรินทร์ หาญสืบสาย อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดตาก และกรรมการกลางมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ได้เป็นผู้มีส่วนสำคัญในการผลักดันให้เกิดการตั้งชื่อ “ถนนเสรีไทย” ซึ่งเป็นถนนสายตัดใหม่ ง๓ ง๒ ค๑ และ ค๒ ยาวประมาณ 9 กิโลเมตร ในอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เพื่อเป็นเกียรติประวัติและยกย่องแด่ขบวนการเสรีไทย
23
พฤศจิกายน
2565
กิจกรรม ณ โรงเรียนเทศบาลวัดชุมพลคีรี ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2565 เวลา 14.30 น. ว่าที่ร้อยตรี ประเสริฐ ปวงละคร นายกเทศมนตรีนครแม่สอดพร้อมด้วยคณะผู้บริหารเทศบาลนครแม่สอด ให้การต้อนรับมูลนิธิฯ และ สถาบันฯ นำโดย รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ นายปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ และ รศ.ดร.อิสริยา นิติทัณฑ์ประภาศ บุญญะศิริ ที่ได้เข้ามอบทุนสนับสนุนการศึกษา
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
พฤศจิกายน
2565
'ระวิ ฤกษ์จำนง' อดีตทูตที่ปรึกษาฯ สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโรม สังกัดกระทรวงต่างประเทศ และ กรรมการบริหารมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ นับตั้งแต่วันนั้นจนกระทั่งในกาลปัจจุบันนี้ห้วงเวลาได้เวียนมาบรรจบอีกครั้งเป็นเวลากว่า 22 ปีแห่งการจากลา ทว่า คุณูปการที่ได้เคยกระทำไว้ยังคงเป็นอนุสรณ์ให้ชนรุ่นหลังได้หวนระลึกถึงอยู่เสมอ
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤศจิกายน
2565
ผู้เขียนได้นำเสนอสาระสำคัญของร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ กล่าวคือสร้าง "ประชาธิปไตยสมบูรณ์" ซึ่งเป็นระบอบที่จะต้องเป็นประชาธิปไตยทั้งใน "ทางการเมือง" และ ใน "ทางเศรษฐกิจ" ควบคู่กันไปอย่างมิอาจแยกจากกันได้ ตลอดจนความรักชาติของนายปรีดีที่ปรากฏในร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤศจิกายน
2565
พื้นที่จังหวัดตากได้ปรากฏร่องรอยทางประวัติศาสตร์ในการดำเนินงานของขบวนการเสรีไทย ด้วยเหตุฉะนี้จึงนำไปสู่ความพยายามในการสร้างอนุสรณ์แห่งความทรงจำ ได้แก่ "ถนนเสรีไทย" ขึ้น ด้วยความร่วมมือจากหลายภาคส่วนเพื่อเป็นเกียรติแด่เหล่าวีรชนและผู้กล้าทั้งหลายที้มีส่วนในภารกิจกู้ชาติในครานั้น
ชีวิต-ครอบครัว
16
พฤศจิกายน
2565
นับตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 จนกระทั่งวันนี้ เป็นเวลา 94 ปี ที่นามของปรีดี-พูนศุข ได้ประสานรวมเป็นหนึ่งและเคียงข้างกัน แม้ทั้งสองจะล่วงลับละสังขารจากโลกนี้ไปแล้ว แต่เรื่องราวความรักและคุณูปการที่ได้เคยกระทำไว้เมื่อครั้งมีชีวิตอยู่ ยังคงโลดแล่นและไหลเวียนอยู่ในสายธารแห่งประวัติศาสตร์อย่างมิรู้จบ....ตราบนานเท่านาน .
บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2565
ความพยายามของ 'นายปรีดี พนมยงค์' และ "คณะราษฎร" ว่าด้วยฐานคิดในการออกแบบการเลือกตั้งครั้งแรกของสยาม อีกทั้งอุปสรรคที่นายปรีดีต้องประสบด้วยเหตุ "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" ครั้นเมื่อการเมืองกลับสู่สภาวะปกติและการเลือกตั้งได้บังเกิดในที่สุด ราษฎรสยามตื่นตัวและให้ความสำคัญต่อระบอบใหม่ ดังปรากฏบนหน้าหนังสือพิมพ์ "ประชาชาติ"
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2565
“วงจรอุบาทว์ทางการเมืองไทย” นั้น เป็นที่รู้กันว่าหมายถึงวงจรแห่งการรัฐประหารฉีกรัฐธรรมนูญเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้นมารอคณะรัฐประหารคณะต่อไปมาฉีกทิ้ง