ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

ชีวิต-ครอบครัว
12
พฤษภาคม
2565
ความเพียรพยายามที่จะก้าวข้ามสภาวะทุกข์ครั้งสุดท้ายด้วยจิตใจที่กล้าหาญ จนกระทั่งเมื่อลมหายใจสุดท้ายได้สิ้นสุดลง ท่านผู้หญิงได้มีพินัยกรรม "คำสั่งถึงลูกๆ ทุกคน" ให้ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดโดยไม่ขอรับเกียรติยศใดๆ ทั้งสิ้น นี่คือความเรียบง่ายและงดงามแห่งชีวิตในเบื้องปลายของมนุษย์ผู้หนึ่งที่ถือเป็นแบบอย่างอันทรงคุณค่า...ตราบนานเท่านาน
11
พฤษภาคม
2565
เนื่องในโอกาสครบรอบ 122 ปี ชาตกาล ท่านรัฐบุรุษอาวุโส ศ.ดร.ปรีดี พนมยงค์ ในปีนี้ ทางมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ สถาบันปรีดี พนมยงค์ และมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ได้จัดกิจกรรมเพื่อรำลึกถึงท่านบริเวณลานปรีดี พนมยงค์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์  หลังจากนั้นจะมีแจกทุนการศึกษา กองทุนปาล พนมยงค์ พร้อมกับ การเสวนาทางวิชาการในหัวข้อ “มุมมอง SDGs เพื่อการพัฒนาสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์” แนวคิดประชาธิปไตยสมบูรณ์นั้นเป็นสิ่งที่อาจารย์ปรีดีได้พยายามพลักดันให้เกิดขึ้นใน “สยาม” ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเรียกเป็น “ประเทศไทย” 
ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤษภาคม
2565
'ดร.วรวิทย์ กนิษฐะเสน' ผู้ที่มี "คุณปู่ปรีดี" เป็นแบบอย่างในชีวิต ได้ย้อนวันวานบอกเล่าเรื่องราวในความทรงจำ เมื่อครั้งที่ใช้ชีวิตอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศส ใกล้ชิดกับคุณปู่ปรีดีและคุณย่าพูนศุข ณ บ้านเดี่ยวหลังอบอุ่น บ้านอองโตนี อีกทั้งความประทับใจที่ได้ใช้สถานที่แห่งนี้จัดงานแต่งงาน โดยเจ้าภาพในงานครั้งนั้น ก็คือ นายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
10
พฤษภาคม
2565
นที่ 7 พฤษภาคม 2489 เป็นวาระที่การประชุมของสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2475 จะได้สิ้นสุดลง 'นายปรีดี พนมยงค์' ได้แสดงสุนทรพจน์ในสภาผู้แทนราษฎรแก่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร โดยเนื้อหาได้กล่าวถึง "ระบอบประชาธิปไตยอันแท้จริง" และ "ความสามัคคีธรรม"
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤษภาคม
2565
'วัลยา' ได้นำเสนอความเป็นมา​ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2489 ซึ่งเป็นอีกผลงานสำคัญของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในเรื่องการเสนอแนวคิดแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2475 และร่วมยกร่างรัฐธรรมนูญ 2489 เพื่อให้เป็นรัฐธรรมนูญที่นำไปสู่แนวทางการสร้างหลักประชาธิปไตยสมบูรณ์ และระบอบประชาธิปไตยอันพรั่งพร้อมไปด้วยสามัคคีธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
8
พฤษภาคม
2565
'สุประวีณ์ อาสนศักดิ์' ชวนให้สำรวจทั้งหลักนิติธรรมและหลักความเท่าเทียมผ่านการเรียกร้อง "สมรสเท่าเทียม" ทั้งตัวบทกฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศต่างๆ การเรียกร้องสิทธิและเสรีภาพที่เกี่ยวข้องกับการเรียกร้องสมรสเท่าเทียมในกฎหมาย และสุดท้ายกลับมาพิจารณาการใช้และการตีความรัฐธรรมนูญไทยในคดีสมรสเท่าเทียม
แนวคิด-ปรัชญา
7
พฤษภาคม
2565
'ญาณิน จิวะกิดาการ หุยากรณ์' ผู้เรียบเรียงบทความ “สิ่งคุกคามความมั่นคงของมนุษย์ : จากอดีตถึงอนาคตที่ยากจะคาดการณ์” จาก SDG MOVE นำเสนอความสำคัญกับชีวิตมนุษย์ในด้านของความมั่นคงเป็นพิเศษ
แนวคิด-ปรัชญา
6
พฤษภาคม
2565
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' ชวนให้พิจารณาถึงเรื่องของ "ความยุติธรรม" ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่ความยุติธรรมในเรื่องของตัวบทกฎหมาย หากแต่เป็น "ความยุติธรรมระหว่างช่วงเวลา" ที่เชื่อมโยงกับ “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” (SDGs)
แนวคิด-ปรัชญา
5
พฤษภาคม
2565
SDGs มาจากการเจรจาของประเทศต่างๆ ที่เป็นสมาชิกของ ‘องค์การสหประชาชาติ’ (United Nation) ซึ่งได้เริ่มขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 2012 เป็นความตกลงที่มีความต่อเนื่องมาจากเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ ที่รู้จักกันในชื่อ Millenium Development Goals หรือ MDGs ซึ่งมีระยะเวลาตั้งแต่ ค.ศ. 2000-2015 โดย SDGs มีระยะเวลาในการทำการพัฒนาที่เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 2015-2030
ชีวิต-ครอบครัว
4
พฤษภาคม
2565
'สุภา ศิริมานนท์' ได้บอกเล่าถึงความเอาใจใส่ที่มีต่อชาติและราษฎรไทย โดยกล่าวว่า "ความเพ่งเล็งเอาใจใส่ของ 'ดร.ปรีดี พนมยงค์' อย่างล้ำลึกและจำหลักหนักแน่นในทุกกรณีในทุกปัญหา ไม่ว่าจากข้อเขียนของท่าน หรือ จากการสนทนาพาที