ข่าวสารและบทความ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
ธันวาคม
2565
จุดเริ่มต้นบทบาทของทหารและกองทัพผ่านรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งได้กลายมาเป็นต้นแบบในรัฐธรรมนูญฉบับต่อๆ มา เพื่อกำหนดตำแหน่งแห่งที่ของทหารและกองทัพเชิงวัฒนธรรม จนท้ายที่สุดได้สถาปนาให้ทหารและกองทัพเป็นหนึ่งในขั้วอำนาจที่อยู่คู่กับการเมืองไทยมาตลอดนับตั้งการรัฐประหาร 2490 พร้อมทั้งวิเคราะห์รัฐธรรมนูญในมิติวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อตำแหน่งแห่งที่ของทหารและกองทัพ
ข่าวสาร
11
ธันวาคม
2565
วันที่ 10 ธันวาคม (วานนี้) เนื่องในวาระ “วันรัฐธรรมนูญ” สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับสถาบันสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย จัดงานเสวนาวิชาการ ภายใต้ชื่อ PRIDI Talks #18 x SDID “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
10
ธันวาคม
2565
10 ธันวาคม พ.ศ. 2485 "สถาปนาธนาคารชาติ" อันเกิดจากความพยายามของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ธนาคารชาติบังเกิดขึ้นด้วยกิจการพัฒนาชาติเพื่อเพิ่มหลักประกันความมั่นคงทางการเงินและทุนสำรองของประเทศ อีกทั้งในการดังกล่าวนี้เป็นผลสืบเนื่องมาจาก "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" เพื่อเป็นกลไกสำคัญทางเศรษฐกิจแก่ความผาสุกของชาติและพลเมือง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
ธันวาคม
2565
จุดเริ่มต้นระบอบรัฐธรรมนูญของประเทศ ภายหลังเมื่อเข้าสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งนำไปสู่การสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 10 ธันวาคม 2475 อันเป็นที่มาแห่งการรำลึกในนาม "วันรัฐธรรมนูญ" ของทุกๆ ปี รวมไปถึงขั้นตอน กระบวนการ และสาระสำคัญในการจัดทำรัฐธรรมนูญ ซึ่งท้ายที่สุดได้บรรลุผลเป็นหลักการกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศดังรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว อีกทั้งความสำคัญของการมีส่วนทางการเมืองของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย
บทความ • บทสัมภาษณ์
8
ธันวาคม
2565
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ชวนคุยกับ 'คุณไกรศรี ตุลารักษ์' วีรชนแห่งขบวนการเสรีไทย อีกทั้งยังเป็นทายาทของ 'คุณสงวน ตุลารักษ์' หนึ่งในผู้ร่วมก่อการอภิวัฒน์สยาม 2475 และบุคคลใกล้ชิดของ 'นายปรีดี พนมยงค์' รวมไปถึงคราวเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งได้เป็นผู้ร่วมชะตาเดียวกันกับขบวนการเสรีไทย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
8
ธันวาคม
2565
8 ธันวาคม 2488 มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่อง “นายปรีดี พนมยงค์” ไว้ในฐานะ “รัฐบุรุษอาวุโส”
ข่าวสาร
6
ธันวาคม
2565
สถาบันปรีดี พนมยงค์ มีความยินดีเปิดรับสมัครงานในตำแหน่ง
ผู้จัดการทั่วไป (General Manager)
เจ้าหน้าที่ธุรการการตลาด (Marketing Administrator)
เจ้าหน้าที่ฝ่ายอำนวยการ (Administrative Officer)
เจ้าหน้าที่ประจำกองบรรณาธิการ (Content Editor)
นักวิชาการ (Academician)
รายละเอียดเพิ่มเติม : https://pridi.or.th/th/careers
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2565
พัฒนาการของการรับรองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในทางเศรษฐกิจ ผ่านรัฐธรรมนูญฉบับต่างๆ ที่เริ่มต้นนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475 อีกทั้งการเกิดขึ้นของบทบัญญัติแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐอันเป็นแนวทางคุ้มครองสิทธิและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ทว่า การรัฐประหารได้ทำให้หลักการดังกล่าวนั้นพร่าเลือนลงไป อันเนื่องมาจากความถดถอยของความเป็นประชาธิปไตย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ธันวาคม
2565
เนื่องในวาระ 113 ปี ชาตกาล 'นายเตียง ศิริขันธ์' ขุนพลแห่งภูพานผู้ยิ่งใหญ่ และนักประชาธิปไตยผู้ต่อต้านเผด็จการ
ผู้เขียนบอกเล่าถึงชีวประวัติย่อของ 'นายเตียง ศิริขันธ์' รวมไปถึงอิทธิพลความคิดทางการเมืองที่กรุยทางไปสู่การเคลื่อนไหวต่อต้านระบอบเผด็จการ และปฏิบัติการขบวนการเสรีไทยในภาคอีสาน