ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2565
ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ ภาวะตาสว่างเกิดขึ้นจากการเข้าถึงองค์ความรู้ และการสานต่ออุดมการณ์ PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2565
หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค์) กล่าวทางวิทยุกระจายเสียง วันเสาร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2479 ซึ่งเป็นวันบรรจบครบรอบปีที่ 4 แห่งระบอบรัฐธรรมนูญ
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2565
รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน ปรัชญาสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2565
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อเข้าใจประวัติศาสตร์แห่งการอภิวัฒน์ PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
บทบาท-ผลงาน
28
มิถุนายน
2565
ณ ที่นี้จะกล่าวถึงการตั้ง “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” สถาบันอุดมศึกษา อันสร้างคน นักประชาธิปไตย นักปกครอง นักการเมือง อันเป็นกำลังของชาติให้แก่ประเทศไทย 
บทบาท-ผลงาน
28
มิถุนายน
2565
การอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินสยาม มีความสำคัญในฐานะของวันที่มีการเปลี่ยนระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย หรือ “ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ”
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
เนื่องในวาระ 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยามของคณะราษฎร แทบจะไม่มีการเล่าถึงในวันที่ปรีดี พนมยงค์ และคณะราษฎร ถวายธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 แด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
ในประกาศคณะราษฎร ลงวันที่ 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2475 มีหลัก 6 ประการ ที่คณะราษฎรวางไว้ให้เป็นหัวใจของการดำเนินนโยบายภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อบำรุงชีวิตของราษฎรให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งหลักข้อ 6. คือ “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร”
26
มิถุนายน
2565
ศุกร์ที่ 24 มิถุนายนที่ผ่านมา ในวาระ 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดงานเสวนา PRIDI Talks #16: 90 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย” ขึ้น ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2565
เป็นที่ทราบกันดีว่า ในปี ๒๖๕๕ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงกลางปีนั้น เป็นช่วงเวลาที่สำคัญอย่างยิ่งยวดต่อบันทึกประวัติศาสตร์ทางจิตวิญญาณและสังคมการเมืองของสยามประเทศ ด้วยเหตุเป็นช่วงครบรอบวาระ ๙๐ ปีแห่งเหตุการณ์ที่สำคัญยิ่ง ๒ เหตุการณ์ที่อุบัติขึ้นใกล้เคียงกัน