ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤศจิกายน
2564
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับประธานโฮจิมินห์ที่ฮานอยเมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1945 ได้สร้างความเข้าใจด้านทฤษฎี แนวทางอภิวัฒน์ ให้แก่เจ้าสุพานุวงในการกอบกู้เอกราชของชาติเป็นอย่างยิ่ง จากนั้นมาเจ้าสุพานุวงได้รับการติดอาวุธทางความคิดอันถูกต้องเพื่อเข้าสู่รูปธรรมแห่งการปฏิบัติจริง ท่านโฮจิมินห์กล่าวเน้นถึงการสร้างความสามัคคีในหมู่ชาวลาวด้วยกัน ทั้งยังต้องสามัคคีกับชาวเวียดนาม และชาวเขมรด้วย เพราะดินแดนของทั้งสามชาติตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ที่ฝรั่งเศสขนานนามว่า “อินโดจีนของฝรั่งเศส”
ชีวิต-ครอบครัว
27
พฤศจิกายน
2564
ถ้าจะถือเอาถ้อยคำบอกเล่าของ นายปรีดี พนมยงค์ มาพินิจพิจารณา ย่อมเผยให้ทราบว่า เขามิใช่บุคคลผู้สันทัดด้านการเล่นกีฬาเท่าไหร่นัก แม้ความไม่ถนัดนี้อาจดูเป็นเรื่องเล็กๆ แต่ก็มีแง่มุมเกี่ยวโยงกับบทบาททางการเมืองของนายปรีดีเช่นกัน ในข้อเขียน “ความเป็นไปภายในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” นายปรีดีบอกเล่าไว้ตอนหนึ่งว่า
แนวคิด-ปรัชญา
26
พฤศจิกายน
2564
ภายใต้ความขัดแย้งที่ลึกลงไปจนถึงความคิดความเชื่อ ระดับอุดมการณ์ของการปกครอง ดังที่ปรากฏอยู่ในสังคมไทยในเวลานี้ ผมไม่คิดว่าจะมีคนกลางเหลืออยู่
เกร็ดประวัติศาสตร์
25
พฤศจิกายน
2564
การเกิดขึ้นของคณะสุภาพบุรุษคือหนึ่งในความใฝ่ฝัน ความปรารถนาของคนกลุ่มหนึ่งในสังคมสยามที่มุ่งหวังจะเห็นความเปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมแห่งเสรีภาพและความเสมอภาค
บทบาท-ผลงาน
24
พฤศจิกายน
2564
เนื้อหาของกลอนบทนี้ยังแสดงให้เห็นถึงความเรียกร้องต้องการของยุคสมัย อันเป็นสากล ได้แก่ การต่อสู้กู้เอกราชของประชาชาติเมืองขึ้น
บทบาท-ผลงาน
23
พฤศจิกายน
2564
ในวาระ 80 ปีของการฉาย “พระเจ้าช้างเผือก” จึงขอนำเสนอ ศาสตร์พระเจ้าจักรา ให้คนร่วมสมัยได้ช่วยกันสืบสาน รักษา และต่อยอด
แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤศจิกายน
2564
(แนว) วาย (Y) เป็นคำย่อที่นำมาใช้เรียกสื่อประเภทคนรักเพศเดียวกัน (homosexual) โดยพื้นฐานของคำว่า วาย (Y) มาจากคำในภาษาญี่ปุ่น 2 คำ คือคำว่า “やおい” (Yaoi: ยาโออิ) และ “百合” (Yuri: ยูริ)
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤศจิกายน
2564
-4- เสนอให้รัฐจ่ายค่าป่วยการให้ราษฎรที่มาลงคะแนน 4.1 นอกจากนี้ผมคิดขึ้นเองว่าน่าจะทดลองทำเป็นประวัติการณ์ของโลกบ้างว่า ผู้มีสิทธิออกเสียงคนใดมาลงคะแนนก็จะได้รับค่าป่วยการจากรัฐบาลครั้งละ 10 บาท ผมคะเนว่าในจำนวนพลเมืองไทยร่วม 40 ล้านคนนั้น มีจำนวนผู้มีสิทธิออกเสียงประมาณ 20 ล้านคน รัฐก็ใช้เป็นค่าป่วยการของราษฎร 20 ล้านบาท ซึ่งไม่น่าเสียดาย เพราะเท่ากับคืนเงินที่เก็บภาษีอากรมาจากราษฎรคืนให้คนละ 10 บาทในวันเลือกตั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤศจิกายน
2564
ข้อเสนอต่อวิธีส่งเสริมให้ราษฎรสนใจประชาธิปไตยในบทความนี้ว่าด้วยเรื่อง "วิธีให้ราษฎรถอดถอนผู้แทน (recall)" และ "วิธีเลือกตั้งจากง่ายไปสู่ยาก" ซึ่งเป็นข้อเสนอที่ถัดมาจาก "พรรคใดบ้างที่สามารถป้องกันผู้แทนขายตัว"
แนวคิด-ปรัชญา
20
พฤศจิกายน
2564
เนื้อหาจะกล่าวถึง การเลือกตั้งระบบพรรคกับปัญหาของผู้แทนขายตัว และที่มาของคำเรียกที่ว่า "พรรคผี" หรือ "ผู้แทนผี" กับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในรัฐสภา รวมถึงปรากฏการณ์ปัญหาของพรรคการเมืองใหญ่ๆ ในต่างประเทศ ซึ่งอาจารย์ปรีดีนั้น ได้กล่าวโดยสรุปข้างท้ายบทความว่าการป้องกันผู้แทนขายตัวนั้นจะมีแนวทางและสามารถดำเนินการไปในรูปแบบใด
Subscribe to บทความ