บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
9
มกราคม
2565
ถึงแม้ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ จะเป็นภริยา นายปรีดี พนมยงค์ สมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตยเมื่อวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
มกราคม
2565
ปลายเดือนธันวาคม ค.ศ.1949 (2492) หลังจากรอนแรมเดินทางบุกป่าฝ่าดงขึ้นเขาลงห้วยผ่านดินแดนลาวตัดเข้าสู่เวียดนาม เจ้าสุพานุวง ก็ได้มาถึงฐานที่มั่นจังหวัดเง่ห์อาน ในเวียดนาม ณ ที่นั่น ท่านได้พบกับ สหายหนูฮัก พูมสะหวัน ประธานคณะกรรมการลาวต่อต้านเขตภาคตะวันออกและภาคกลาง
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
7
มกราคม
2565
"โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์" สอนให้ข้าพเจ้าซื่อสัตย์ มีวินัย มีมารยาทในสังคม มีวิชาความรู้ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และฝรั่งเศส ทำให้ข้าพเจ้าทำหน้าที่ภรรยาของนักการเมืองและแม่ของลูกได้อย่างมีความอดทน เชื่อมั่นและไม่ท้อแท้ แม้บางครั้งครอบครัวข้าพเจ้าจะถูกมรสุมการเมืองโถมกระหน่ำอย่างไร้ความปรานี
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
6
มกราคม
2565
๑. ช่วงพุทธศักราช ๒๔๕๕-๒๔๘๔
ร.ศ. ๑๓๐ (พุทธศักราช ๒๔๕๔) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หลวงวิชิตสรไกรไปรับราชการในตำแหน่งเจ้าเมืองจังหวัดสมุทรปราการ และพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระสมุทรบุรานุรักษ์” (ขำ)
พระสมุทรบุรานุรักษ์ บิดาของข้าพเจ้า ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยาวรุณฤทธีศรีสมุทรปราการ พระยาเพชรฎา และ พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา ตามลำดับ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
5
มกราคม
2565
“สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีเป็นรัฐประชาธิปไตยและเป็นสังคมรัฐ” (Die Bundesrepublik Deutschland ist ein demokratischer und sozialer Bundesstaat.)
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
4
มกราคม
2565
ข้าพเจ้าเกิดเมื่อวันที่ ๒ มกราคม ๒๔๕๕ ตรงกับวันอังคาร ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือนอ้าย ปีกุน ที่จวนผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการริมน้ำ เยื้องพระสมุทรเจดีย์ เป็นบุตรมหาอำมาตย์ตรีพระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา และคุณหญิงเพ็ง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
29
ธันวาคม
2564
ประชาธิปไตยกับภาคธุรกิจ
ไม่บ่อยครั้งนักที่คำว่า “ธุรกิจ” และ “ประชาธิปไตย” จะถูกนำมาใช้ร่วมกันในประโยคเดียวกัน แต่อย่างไรก็ตาม มันก็มีความเชื่อมโยงที่แน่นแฟ้นระหว่างทั้งสองคำนี้ ซึ่งในประเทศที่พัฒนาแล้วส่วนใหญ่มักจะมีธุรกิจของภาคเอกชนที่ดำเนินงานอย่างเข้มแข็ง ในขณะที่ประเทศที่ด้อยพัฒนากว่ามักจะประสบปัญหาจากภาคเอกชนที่อ่อนแอและการผูกขาดจากหน่วยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ จึงได้เกิดมีงานวิจัยที่มีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่งและกำลังทำการศึกษาอยู่โดยมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard Business School) ที่ได้พิจารณาถึงความสัมพันธ์หว่างภาคธุรกิจและแนวคิดระบอบประชาธิ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ธันวาคม
2564
“รัฐธรรมนูญ อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์”
“เพาะความเลื่อมใสในรัฐธรรมนูญ”
“ปกป้องรัฐธรรมนูญ”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to บทความ
26
ธันวาคม
2564
เมื่อบาดเจ็บสาหัสจากคมกระสุนที่ยิงมาจากฐานปืนกลประจำเครื่องบินสปิตไฟร์ในศึกป้องกันเมืองท่าแขก และเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลนครพนมอยู่ระยะหนึ่ง เจ้าสุพานุวงจึงเดินทางเข้าบางกอกพร้อมเจ้าเวียงคำชายาเพื่อรักษาตัวเพิ่มเติม ศัลยแพทย์ฝีมือดีที่สุดคนหนึ่งทำหน้าที่ดูแลท่านในขณะนั้นคือ นายแพทย์บรรจง กรลักษณ์