บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
8
มิถุนายน
2564
เมื่อจะกล่าวถึงความคิดของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ สิ่งหนึ่งที่ไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้คือการก่อตัวของสิ่งที่ท่านเรียกว่า “จิตสำนึก”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2564
การสิ้นสุดลงของ “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” ในสยามจึงเป็นไปเพื่อการก่อเกิดใหม่ของ “ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” หรือ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
6
มิถุนายน
2564
ต.ม.ธ.ก. คือ โรงเรียนและนักเรียนระดับมัธยมบริบูรณ์ (๒ ชั้นปี เตรียมปีที่ ๑ และ เตรียมปีที่ ๒) ที่เป็นปรากฏการณ์สำคัญของ ต.ม.ธ.ก. อยู่ ๘ ปี มีนักเรียน ๘ รุ่น ระหว่างปี ๒๔๘๑-๒๔๙๐
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มิถุนายน
2564
บทความนี้ 'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' จะพาท่านผู้อ่านไปทำความรู้จัก 2 พ่อลูกนักคิดหัวก้าวหน้าในยุคเปลี่ยนผ่านของหน้าประวัติศาสตร์ไทยอย่าง ก.ศ.ร.กุหลาบ และบุตรชายของเขา "นายชาย ตฤษณานนท์" (ก.ห. ชาย)
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
มิถุนายน
2564
ประเทศฝรั่งเศสในปี ค.ศ.1789 เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเมือง และวัฒนธรรมอย่างใหญ่หลวงหลายประการ หนึ่งในนั้นคือ “การทลายคุกบาสตีย์” (Prise de la Bastille) ในวันที่ 14 กรกฎาคม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2564
‘ก.ศ.ร. กุหลาบ’ และ ‘เทียนวรรณ’ เป็นบุคคลร่วมสมัยที่เกิดในรัชกาลที่ 3 และเติบโตในขณะที่อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกกำลังแพร่สะพัดอยู่ในสังคมระดับสูง ถึงแม้ว่าบุคคลทั้งสองจะมิได้มีตำแหน่งหน้าที่ในทางราชการก็ตาม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
2
มิถุนายน
2564
ภายในช่วงระยะเวลาประมาณ 60 ปี นับตั้งแต่รัชกาลที่ 5 ได้ทรงขึ้นครองราชย์สมบัติเมื่อ ปี พ.ศ. 2411 จนถึงก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 นั้น เป็นช่วงที่ประเทศไทยมีพัฒนาการของแนวความคิดเกี่ยวกับอำนาจรัฐไปอย่างรวดเร็ว
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
มิถุนายน
2564
จุดเริ่มต้นแห่งการก่อเกิดประชาธิปไตยนั้น ได้เริ่มก่อตัวขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ถูกส่งต่อมาเรื่อยๆ จนถึงรัชสมัยของรัชกาลที่ 7 โดยมีทั้งชนชั้นสูงอย่างเจ้าขุนมูลนาย และ ราษฎรไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
31
พฤษภาคม
2564
31 พฤษภาคม 2564 ครบรอบ 60 ปี การประหารชีวิตอดีตนักการเมืองสามัญชนคนสำคัญผู้หนึ่งคือ ‘ครอง จันดาวงศ์’
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to บทความ
30
พฤษภาคม
2564
ความแตกต่างระหว่างนายปรีดีกับหลวงพิบูลสงครามในด้านรูปแบบและรสนิยมการรับประทานอาหารเช้า ซึ่งพอจะสื่อนัยยะของแนวความคิดทางสังคมการเมืองได้