ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
8
กุมภาพันธ์
2564
รัฐประหาร 2490 นั้นมิได้มีความสำคัญเฉพาะในทางการเมือง ซึ่งการรัฐประหารในครั้งนี้ไม่ได้ฉุดรั้งการพัฒนาของประชาธิปไตยไทยแต่เพียงอย่างเดียว แต่การรัฐประหาร 2490 นั้นได้ผลักดันแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยให้เป็น “ทุนนิยมโดยรัฐ” แบบเข้มข้น โดยเอื้อประโยชน์ให้ส่วนตัวและให้ความคุ้มครองแก่พ่อค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อสงครามเย็นเริ่มต้น การเข้ามามีบทบาทของพญาอินทรี ทำให้เกิดความสัมพันธ์สามฝ่ายระหว่าง ขุนศึก พ่อค้า และพญาอินทรี
แนวคิด-ปรัชญา
7
กุมภาพันธ์
2564
นายปรีดี พนมยงค์ ได้ถ่ายทอดเรื่องราวในคืนหลังจากเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ไม่ว่าจะเป็นหนทางหลบหนี, มิตรสหายที่ได้ทำการช่วยเหลือ หรือ แม้กระทั่งเหตุการณ์ไม่คาดคิดที่ตัวท่านเองได้ประสบพบเจอ
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
กุมภาพันธ์
2564
มองย้อนอดีตไปเมื่อปี พ.ศ. 2492 เหตุการณ์ทางการเมืองหนึ่งได้ปรากฏขึ้นที่ประเทศไทยและถูกเรียกขานให้เกี่ยวโยงกับกรณีสังหารบุคคลสำคัญชาวพม่าผู้เป็นวีรบุรุษแห่งชาติ นั่นคือเหตุการณ์ ‘กบฏระบบสังหารอูอองซาน’
บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2564
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้บอกกับเราว่า "เพราะเหตุใดการขึ้นสู่อำนาจของคณะรัฐประหาร จึงก่อให้เกิดผลในการทำลายประชาธิปไตย และล้มล้างลัทธิธรรมนูญได้ถึงเพียงนี้"
แนวคิด-ปรัชญา
4
กุมภาพันธ์
2564
รุ่งขึ้นของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 4 ของประเทศไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ก่อการรัฐประหารส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการ เริ่มแรกบรรดาผู้ก่อการต่างคนต่างคิดมีทั้งหมด 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีพวกพ้องของตนโดยเฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งทั้ง หมดได้มาพบปะและรู้ความประสงค์ซึ่งกันและกัน โดยใช้วัตถุประสงค์ที่ร่วมกันร่างเป็น "ข้ออ้าง" ในการกระทำรัฐประหารในครานั้น
บทสัมภาษณ์
2
กุมภาพันธ์
2564
ก่อนหน้าที่จะมีรัฐประหาร มีข่าวลือว่าจะเกิดปฏิวัติรัฐประหาร หนังสือพิมพ์ศรีกรุง ฉบับประจำวันที่ 28 พฤศจิกายน 2489 ลงข่าวว่ารัฐบาลสั่งเตรียมพร้อม เนื่องจากว่ามีข่าวเรื่องนายทหารชั้นประทวนคบคิดกันจะใช้กำลังล้มล้างรัฐบาลในเดือนกรกฎาคม 2490
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กุมภาพันธ์
2564
ศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ ซึ่งเพิ่งจากโลกนี้ไปเมื่อวันที่ 16 มกราคม ที่ผ่านมานั้น นอกจากเป็นหลานลุงของนายปรีดี พนมยงค์ และเป็นอดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญแล้ว ยังเป็นนักกฎหมายมหาชนคนสำคัญอีกคนหนึ่งของประเทศไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มกราคม
2564
'ดุษฎี พนมยงค์' ได้ทำการตรวจทานข้อเท็จจริงอีกครั้งจากพยานบุคคลหลายราย จนนำมาสู่ข้อเท็จจริงใหม่ในบทความขนาดสั้นเรื่องนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
มกราคม
2564
กว่าจะเป็น #วัดพระศรีมหาธาตุ ในปัจจุบัน วัดนี้เคยใช้ชื่อว่า #วัดประชาธิปไตย มาก่อน เพราะเป็นผลสืบเนื่องมาจากการปราบ #กบฏบวรเดช (พ.ศ. 2476) ในบริเวณนั้น และยังเป็นการทำนุบำรุงพุทธศาสนา ให้เป็นที่รวมคณะสงฆ์ "มหานิกาย” และ “ธรรมยุติกนิกาย” เข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
Subscribe to บทความ