บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
18
กรกฎาคม
2564
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ได้ลุล่วงดังเป้าหมายของคณะผู้ก่อการ บรรดาฝ่ายสนับสนุนทั่วทุกสารทิศบนแผ่นดินสยามจึงต่างพากันยินดีในความสำเร็จและได้ส่งของขวัญต่างๆ เพื่อบรรณาการมายังรัฐบาลคณะราษฎร ทั้งในรูปแบบของสิ่งของ และรูปแบบของอาหาร
บทความ • บทบาท-ผลงาน
17
กรกฎาคม
2564
ปาฐกถา เรื่องพระราชบัญญัติระเบียบราชการ บริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๕๗๖ โดย หลวงประดิษฐ์มนูธรรม เมื่อวันอังคารที่ ๒ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๗๖ แสดง ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม
บทความ • บทบาท-ผลงาน
15
กรกฎาคม
2564
บทบาทของ ‘หม่อมเจ้าสกลวรรณากร’ เจ้านายแหวกขนบ ผู้สำเร็จการศึกษาประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจจากเคมบริดจ์ โดดเด่นขึ้นภายหลังการปฏิวัติ 2475 ได้ไม่นาน ท่านทรงเป็นเจ้านายจำนวนไม่กี่ท่านที่ได้รับความไว้วางใจจากรัฐบาลในระบอบใหม่
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กรกฎาคม
2564
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง หนึ่งในนโยบายหลักที่สำคัญของคณะราษฎรคือการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น ผ่านการวางแนวคิดที่เป็นโครงสร้างหลักของรัฐไทยสมัยใหม่
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
กรกฎาคม
2564
แม้ว่า “มรดกคณะราษฎร” หลายอย่างจะเปลี่ยนไป แต่สิ่งหนึ่งที่ยังคงอยู่นั่นคือ “แนวทางการแพทย์และการสาธารณสุขสมัยใหม่”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2564
เมื่อสยามเริ่มเรียนรู้วิทยาการจากโลกตะวันตกในช่วง “การปฏิรูปประเทศ” สมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งหลายวิทยาการที่นำเข้ามาจากโลกตะวันตกได้รับความนิยมชมชอบจากชนชั้นนำของสยามในเวลานั้น
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2564
อาจก่อความแปลกใจให้แก่คุณผู้อ่านไม่น้อยทีเดียวว่า “พระยาพหลพลพยุหเสนา” (พจน์ พหลโยธิน) ผู้นำคณะราษฎรสายทหารที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
บทความ • บทบาท-ผลงาน
10
กรกฎาคม
2564
“กฎหมายมหาชน” เป็นนวัตกรรมทางกฎหมายที่ประเทศไทยนำเข้าจากต่างประเทศ ในฐานะของกลุ่มสาขาวิชากฎหมายที่มีส่วนในการกำหนดขอบเขตการใช้อำนาจรัฐมิให้ละเมิดต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
กรกฎาคม
2564
ภารกิจในการสร้างรัฐเวชกรรม ตามเป้าประสงค์ตั้งต้นของคณะราษฎร ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบตั้งแต่แรก
บทความ • บทสัมภาษณ์
Subscribe to บทความ
8
กรกฎาคม
2564
“คณะราษฎร 2475” คือ ปรากฏการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่สำคัญมากและเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อของความเปลี่ยนแปลงในแง่ของสังคม ในแง่ของการเมือง ในแง่ของอะไรอีกหลายอย่าง รวมทั้งเศรษฐกิจ และเรื่องวัฒนธรรม”