บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
14
มิถุนายน
2563
สาเหตุของความแตกแยกภายในคณะราษฎร มีพื้นฐานสืบเนื่องมาจากความแตกต่างในอุดมการณ์ทางการเมืองของบุคคลชั้นหัวหน้าในคณะราษฎรเป็นสําคัญ การรวมตัวกันของคณะราษฎรเป็นที่น่าสังเกตว่า ประกอบด้วยบุคคลซึ่งมีแนวความคิดต่างกันอยู่มาก แต่เท่าที่สามารถรวมกลุ่มกันได้ในระยะแรก เป็นเพราะบุคคลเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายร่วมกันอยู่ คือ ความต้องการยึดอํานาจจากชนชั้นปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เพื่อสถาปนารัฐบาลชุดใหม่ภายใต้ระบอบประชาธิปไตย
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
13
มิถุนายน
2563
“ผมกับภรรยาสืบมาจากเชียดเดียวกัน”
ท่านปรีดี พนมยงค์ กล่าวตอนหนึ่งในการสนทนากับนายฉัตรทิพย์ นาถสุภา เมื่อเดือนเมษายน 2525 ถึงความสัมพันธ์ทางสายเลือดระหว่างท่านกับท่านผู้หญิงพูนศุข ผู้เป็นศรีภริยา
คําว่า “เชียด” นั้นเป็นคําโบราณที่ไม่ค่อยมีใครในปัจจุบันเรียกกัน หมายถึงพ่อของชวด (ทวด) ตามประวัติของท่านรัฐบุรุษอาวุโสนั้น เชียดของท่านมีบุตรอยู่หลายคน บุตรีคนหนึ่งชื่อปิ่นได้แต่งงานกับจีนก๊ก แซ่ตั้ง เป็นพ่อค้าเชื้อชาติจีน ทั้งสองมีบุตร หลายคนคนหนึ่งชื่อเกิด ได้แต่งงานกับนางคุ้ม มีบุตร 8 คน ชื่อ ฮวด ชุ้น แฟง ง้วย ใช้ ฮ้อ เสียง และบุญช่วย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
13
มิถุนายน
2563
ตอน ๖
ปรีดีอสัญกรรม พ.ศ.๒๕๒๖
ถึง
งาน ๑๐๐ ปีชาตกาลท่านรัฐบุรุษอาวุโส บุคคลสำคัญองค์กร UNESCO
ณ บ้านอองโตนี ชานกรุงปารีส เวลา ๑๑ นาฬิกาเศษ ของวันจันทร์ที่ ๒ พ.ค.๒๕๒๖ นายปรีดีสิ้นใจอย่างสงบด้วยอาการหัวใจวายขณะกำลังเขียนหนังสืออยู่ที่โต๊ะทำงาน สรีระของท่านได้รับการประกอบพิธีฌาปนกิจศพอย่างสมเกียรติและเรียบง่ายตามเจตนารมณ์ของผู้วายชนม์เมื่อเที่ยงของวันจันทร์ที่ ๙ พ.ค.๒๕๒๖ ณ บริเวณสุสาน Père Lachaise สถานที่สำหรับ ฝังศพบุคคลสำคัญของประเทศ เช่น Chopin, Molière, Hugo, Delacroix ฯลฯ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
มิถุนายน
2563
เมื่อจะทำความเข้าใจขบวนการสิทธิสตรีในประเทศไทย อาจพบว่าชื่อของ ปรีดี พนมยงค์ ไม่เป็นที่คุ้นเคยสักเท่าไหร่ แต่ถ้าจะกล่าวถึงกำเนิดของสิทธิสตรีในการเลือกตั้งของสตรีไทยแล้ว คงไม่มีใครปฏิเสธว่า เริ่มต้นที่ร่างธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 และร่างธรรมนูญฉบับนี้เองที่ นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้รับผิดชอบในการร่าง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2563
ในการเสวนาเรื่อง “ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว ฉบับ 27 มิถุนายน 2475” เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2550 ณ สถาบันปรีดี พนมยงค์ นายสุพจน์ ด่านตระกูล ได้ร่วมอภิปรายด้วย ความตอนหนึ่งดังนี้
บทความ • บทสัมภาษณ์
10
มิถุนายน
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข เกิดในสมัยรัชกาลที่ 6 ในตระกูล ณ ป้อมเพชร์ ซึ่งเป็นตระกูลขุนนาง บิดาของท่านคือ พระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา เป็นอธิบดีกรมราชทัณฑ์คนแรกของประเทศ เมื่ออายุไม่ถึง 17 ปี ท่านผู้หญิงก็สมรสกับนายปรีดี พนมยงค์ ดอกเตอร์หนุ่มนักกฎหมายชื่อดังสมัยนั้น
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2563
เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ผมได้รับหนังสือของกรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (สำนักเลขาธิการ ค.ร.ม.) ซึ่งลงนามโดยเลขาธิการโดยคณะรัฐมนตรี (นายดิเรก ชัยนาม) ให้ผมโดยเสด็จพระราชดำเนินสมเด็จพระเจ้าอยู่อานันทมหิดล ไปรับราชการในพระราชสำนัก ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสส์ ในฐานะผู้ถวายอักษรภาษาไทย กำหนดเดินทางในวันที่ 13 มกราคม 2481
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2563
ท่านนายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่านอธิการบดี ท่านที่เคารพรักทุก ๆ ท่าน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to บทความ
8
มิถุนายน
2563
1. การยึดอำนาจการปกครองของคณะราษฎร
การเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นับว่าเป็นจุดสุดยอดของการสะสมความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในวันที่ 27 มิถุนายน 2475 ได้มีการประกาศพระราชกำหนดนิรโทษกรรม แก่คณะราษฎรและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวพุทธศักราช 2475