ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
12
มิถุนายน
2563
เมื่อจะทำความเข้าใจขบวนการสิทธิสตรีในประเทศไทย อาจพบว่าชื่อของ ปรีดี พนมยงค์ ไม่เป็นที่คุ้นเคยสักเท่าไหร่ แต่ถ้าจะกล่าวถึงกำเนิดของสิทธิสตรีในการเลือกตั้งของสตรีไทยแล้ว คงไม่มีใครปฏิเสธว่า เริ่มต้นที่ร่างธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 และร่างธรรมนูญฉบับนี้เองที่ นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้รับผิดชอบในการร่าง
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2563
ในการเสวนาเรื่อง “ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว ฉบับ 27 มิถุนายน 2475” เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2550 ณ สถาบันปรีดี พนมยงค์  นายสุพจน์ ด่านตระกูล ได้ร่วมอภิปรายด้วย ความตอนหนึ่งดังนี้
บทสัมภาษณ์
10
มิถุนายน
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข เกิดในสมัยรัชกาลที่ 6 ในตระกูล ณ ป้อมเพชร์ ซึ่งเป็นตระกูลขุนนาง  บิดาของท่านคือ พระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา เป็นอธิบดีกรมราชทัณฑ์คนแรกของประเทศ  เมื่ออายุไม่ถึง 17  ปี ท่านผู้หญิงก็สมรสกับนายปรีดี พนมยงค์ ดอกเตอร์หนุ่มนักกฎหมายชื่อดังสมัยนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2563
เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ผมได้รับหนังสือของกรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (สำนักเลขาธิการ ค.ร.ม.) ซึ่งลงนามโดยเลขาธิการโดยคณะรัฐมนตรี (นายดิเรก ชัยนาม) ให้ผมโดยเสด็จพระราชดำเนินสมเด็จพระเจ้าอยู่อานันทมหิดล ไปรับราชการในพระราชสำนัก ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสส์ ในฐานะผู้ถวายอักษรภาษาไทย กำหนดเดินทางในวันที่ 13 มกราคม 2481
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2563
ท่านนายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่านอธิการบดี ท่านที่เคารพรักทุก ๆ ท่าน
แนวคิด-ปรัชญา
8
มิถุนายน
2563
1. การยึดอำนาจการปกครองของคณะราษฎร การเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นับว่าเป็นจุดสุดยอดของการสะสมความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในวันที่ 27 มิถุนายน 2475 ได้มีการประกาศพระราชกำหนดนิรโทษกรรม แก่คณะราษฎรและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวพุทธศักราช 2475
ศิลปะ-วัฒนธรรม
7
มิถุนายน
2563
ที่มา: เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์  
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
มิถุนายน
2563
“แม้กระทั่งสมณะผู้ทรงศีล ๒๒๗ นับแต่องค์สังฆปรินายกสมเด็จพระสังฆราชองค์ปัจจุบัน ลงไปถึงพระราชาคณะชั้นผู้ใหญ่ ที่ได้มีโอกาสเยือนกรุงปารีส ก็ได้พบปะสนทนากับท่านปรีดีฯ” สุพจน์ ด่านตระกูล
บทบาท-ผลงาน
5
มิถุนายน
2563
ข้าพเจ้าได้รับคำขอร้องจากบรรณาธิการบริหารของ ไทยแลนด์ ให้นำภาพของท่านปรีดีที่ถ่ายไว้เมื่อครั้งที่ข้าพเจ้าไปเยี่ยมเยือนท่านที่ประเทศฝรั่งเศส เมื่อพุทธศักราช 2524 เพื่อนำเสนอต่อท่านผู้อ่าน ดังที่ปรากฏอยู่ใน ไทยแลนด์ บางภาพ และพร้อมทั้งเรื่องเกี่ยวกับท่านปรีดีในความคิดคำนึงของข้าพเจ้า ในฐานะผู้ให้ความเคารพท่านปรีดีเยี่ยงวีรบุรุษตลอดมาตั้งแต่ท่านยังมีชีวิตอยู่และแม้ท่านถึงแก่อสัญกรรมไปแล้ว  
Subscribe to บทความ