ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
8
มิถุนายน
2565
จุดเริ่มต้นแห่งจิตสำนึกในการอภิวัฒน์สยามของนายปรีดี พนมยงค์นั้น เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่วัยเยาว์ที่ถือกำเนิดมาในครอบครัวที่มีอาชีพชาวนา ได้ประสบชะตากรรมความยากลำบาก ได้เห็นชาวบ้านคนอื่นๆ ถูกเอารัดเอาเปรียบจากการทำนา
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มิถุนายน
2565
ย้อนไปช่วงปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ก่อนหน้าที่กลุ่มของ “คณะราษฎร” จะร่วมกันเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ในสังคมไทยเคยปรากฏกลุ่มของบุคคลหลายคณะที่ก่อตัวขึ้นเพื่อเคลื่อนไหวเรียกร้องความเป็นธรรมให้แก่ราษฎรผู้ได้รับผลกระทบจากการปกครองแบบระบอบศักดินา ณ บัดนี้ ผมจะพาคุณผู้อ่านไปทำความรู้จักกับ “คณะ” ต่างๆ เหล่านั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
มิถุนายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : หวอเหงียนย้าป จอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์ ถิ่นกำเนิดแห่งปฐมวัย
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2565
เนื้อหาในบทความนี้ ได้รวบรวมฎีกาต่างๆ ที่บอกถึงความทุกข์ยาก ถูกเอารัดเอาเปรียบของชาวนาและราษฎรไทยบนแผ่นดินสยาม เมื่อครั้งสยามประเทศยังปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ทั้งในเรื่องความเป็นอยู่ และสภาพเศรษฐกิจในเวลานั้น เรื่องเหล่านี้เองเป็นสาเหตุใหญ่ซึ่งเป็นที่มาของการอภิวัฒน์สยาม 2475
แนวคิด-ปรัชญา
2
มิถุนายน
2565
หากเราใช้เกณฑ์การให้สิทธิการเลือกตั้งที่เท่าเทียมกันโดยไม่จำกัดด้วยแตกต่างของรายได้ เพศสภาพ ชนชั้น ผิวสี หรือชาติพันธุ์ (Universal suffrage) เป็นตัวบ่งชี้ความเป็นประชาธิปไตยของประเทศนั้นๆ แล้ว สยามก็นับว่าเป็นประเทศแรกๆ ของโลกที่รับรองสิทธินี้คล้องจองไปกับโลกสากลที่ให้ความสำคัญการยกระดับความเท่าเทียมหญิง-ชาย เพื่อสร้างโลกที่ควรจะเป็น ฉะนั้น หากเปรียบเทียบช่วงเวลาที่ไทยเรารับรองสิทธินี้ คือ 1 ปี หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 พลเมืองหญิงชายต่างได้ใช้สิทธินี้อย่างเต็มภาคภูมิ บางกรณีก้าวหน้าไปไกลกว่าประเทศมหาอำนาจบางประเทศที่เราเสียเปรียบดุลอำนาจ โปรดดูตารางข้างล่าง  
แนวคิด-ปรัชญา
1
มิถุนายน
2565
ในบทความนี้ มาเริ่มนับหนึ่งกันใหม่กับ PDPA101 มาทำความเข้าใจกันอย่างถูกต้องว่าอะไรใช่หรืออะไรไม่ใช่ อะไรทำได้หรืออะไรทำไม่ได้ อะไรเป็นข้อยกเว้นและอะไรบ้างที่ต้องตระหนัก มาเข้าใจถึงความหมายที่ถูกต้องของกฎหมาย PDPA ที่มาของกฎหมาย จุดมุ่งหมายของการมีกฎหมาย PDPA ใครบ้างที่เป็นผู้ถูกคุ้มครอง PDPA ใช้กับเรื่องใดบ้าง เป็นต้น
แนวคิด-ปรัชญา
31
พฤษภาคม
2565
ยุคเผด็จการของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ กับเหตุการณ์การประหารชีวิตของ ‘ครูครอง จันดาวงศ์’ และ ‘ครูทองพันธ์ สุทธิมาศ’ ที่ถูกตั้งข้อกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์และกบฏแบ่งแยกดินแดน โดยอาศัยมาตรา 17 คำพิพากษาที่มิได้ผ่านกระบวนการยุติธรรมหรือตรวจสอบความจริง ทำให้วันปลิดชีวิตของครูครองและครูทองพันธ์มาถึงอย่างรวดเร็วภายหลังการถูกจับกุมไม่ถึง 1 เดือน
บทบาท-ผลงาน
30
พฤษภาคม
2565
เป็นที่ทราบกันดีว่า การดำเนินนโยบายตามหลัก 6 ประการของคณะราษฎร มาเกิดขึ้นได้จริง ก็เมื่อ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ส่วนการผลักดันนโยบายตามปณิธาณของการอภิวัฒน์มาเกิดขึ้นอย่างเต็มกำลังก็เมื่อหลังเหตุการณ์ปราบกบฏบวรเดชจบลง อันถือเป็นความพยายามต่อสู้กับระบอบของผู้ศรัทธาในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ครั้งสุดท้าย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
29
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ จะว่าด้วยเรื่องของสัตว์สองประเภท คือ นกและปลา ซึ่งมีการตั้งชื่อเรียกโดยใช้ชื่อของ ‘ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์’ ได้แก่ นกปรีดี, ปลาปล้องทองปรีดี และ นกเสรีไทยที่เคยได้นำเสนอไปแล้ว ทั้งนี้เพื่อเป็นเกียรติและเพื่อการรำลึกคุณูปการของท่านที่มีต่อชาติและราษฎรไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤษภาคม
2565
  “หวอเหงียนย้าป” (VO NGUYEN GIAP) เกิดที่หมู่บ้านอานซา (AN XA) จังหวัดกว๋างบิ่นห์ เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1911
Subscribe to บทความ