ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
19
พฤษภาคม
2565
ผศ.ชล บุนนาค กล่าวถึงความเชื่อมโยงกันระหว่างแผนการพัฒนาที่ยั่งยืนกับประชาธิปไตยสมบูรณ์ โดยหลักการประชาธิปไตยสมบูรณ์ของนายปรีดี พนมยงค์นั้น สอดคล้องกับ SDGs เป้าหมายที่ 16 ที่ว่าด้วยเรื่องการมุ่งเน้นที่จะส่งเสริมสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรมและสร้างสถาบันที่มีประสิทธิผลรับผิดชอบและครอบคลุมในทุกระดับ
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
พฤษภาคม
2565
'ศิริ สันตะบุตร' ผู้ว่าราชการคนสุดท้ายที่มาจากการแต่งตั้ง ดำเนินชีวิตอยู่บนสายงานราชการด้วยการเป็นนักปกครองที่ซื่อสัตย์สุจริต ดังคำกล่าวของ คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์ ปลัดกรุงเทพมหานคร ณ ขณะนั้นว่า “ท่านเป็นคนอ่อนโยน…เป็นคนตรงเป็นไม้บรรทัด”
ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
พฤษภาคม
2565
  ในวาระ 122 ปีชาตกาลของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ยังคงมีเรื่องราวสืบเนื่องจากคุณูปการให้รำลึกถึงท่าน อาทิเช่น ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ย่านลาดพร้าว และถนนปรีดี พนมยงค์ ย่านสุขุมวิท ที่จะเล่าถึงในบทความชิ้นนี้[1]
บทบาท-ผลงาน
16
พฤษภาคม
2565
ภายใต้รัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีชื่อ พระยาพหลพลพยุหเสนา “นโยบายสันติภาพ” มีฐานะเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย “หลักเอกราช” อันเป็นหนึ่งในหลักหกประการของคณะราษฎร เหตุที่เรื่องนี้กลายมาเป็นเรื่องหลักของรัฐบาล เนื่องมาจาก ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 ที่เสมือนคำมั่นสัญญากับประชาชนนั้น ผู้ก่อการได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการสูญเสียเอกราชของประเทศ ที่ต้องเร่งกอบกู้โดยเร็ว
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
พฤษภาคม
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : ประธานเเห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) การได้มาซึ่งอำนาจปกครองประเทศ ในด้านหลักต้องถือว่าเป็นผลสำเร็จ แห่งชัยชนะของประชาชนที่จะได้นำพาประเทศชาติไปสู่ความก้าวหน้า ตามการดำเนินไปของสัจธรรมที่สังคมต้องเปลี่ยนแปลงและเติบโตอย่างไม่หยุดยั้ง หากแต่ว่าจะต้องเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคนานัปการ
บทบาท-ผลงาน
14
พฤษภาคม
2565
สมัยที่ พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะราษฎรได้มีนโยบายส่งเสริมการทำนาโดยจัดให้มีการประกวดพันธุ์ข้าว ซึ่งการประกวดครั้งสำคัญนั้น เกิดขึ้นที่อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี เมื่อปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2477 ท่านนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีและสมาชิกคณะราษฎรบางส่วนยังเดินทางไปมอบรางวัลแก่ผู้ชนะการประกวด อีกทั้งร่วมเกี่ยวข้าวจากแปลงนาของเกษตรกรด้วยตนเอง
แนวคิด-ปรัชญา
13
พฤษภาคม
2565
ในช่วงที่ผ่านมาประเทศไทยมีการกล่าวถึง “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” หรือ SDGs เป็นจำนวนมาก ทั้งในรูปแบบของชื่อกิจกรรม งานเสวนา และการกล่าวขึ้นอย่างลอยๆ ในการเปิดงานของหัวหน้าส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐต่างๆ[1] ตามวาระและโอกาส  อย่างไรก็ดี สิ่งที่น่าสนใจก็คือ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นเรื่องที่ถูกกล่าวถึงมากขึ้นในประเทศไทย
ชีวิต-ครอบครัว
12
พฤษภาคม
2565
ความเพียรพยายามที่จะก้าวข้ามสภาวะทุกข์ครั้งสุดท้ายด้วยจิตใจที่กล้าหาญ จนกระทั่งเมื่อลมหายใจสุดท้ายได้สิ้นสุดลง ท่านผู้หญิงได้มีพินัยกรรม "คำสั่งถึงลูกๆ ทุกคน" ให้ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดโดยไม่ขอรับเกียรติยศใดๆ ทั้งสิ้น นี่คือความเรียบง่ายและงดงามแห่งชีวิตในเบื้องปลายของมนุษย์ผู้หนึ่งที่ถือเป็นแบบอย่างอันทรงคุณค่า...ตราบนานเท่านาน
ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤษภาคม
2565
'ดร.วรวิทย์ กนิษฐะเสน' ผู้ที่มี "คุณปู่ปรีดี" เป็นแบบอย่างในชีวิต ได้ย้อนวันวานบอกเล่าเรื่องราวในความทรงจำ เมื่อครั้งที่ใช้ชีวิตอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศส ใกล้ชิดกับคุณปู่ปรีดีและคุณย่าพูนศุข ณ บ้านเดี่ยวหลังอบอุ่น บ้านอองโตนี อีกทั้งความประทับใจที่ได้ใช้สถานที่แห่งนี้จัดงานแต่งงาน โดยเจ้าภาพในงานครั้งนั้น ก็คือ นายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
10
พฤษภาคม
2565
นที่ 7 พฤษภาคม 2489 เป็นวาระที่การประชุมของสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2475 จะได้สิ้นสุดลง 'นายปรีดี พนมยงค์' ได้แสดงสุนทรพจน์ในสภาผู้แทนราษฎรแก่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร โดยเนื้อหาได้กล่าวถึง "ระบอบประชาธิปไตยอันแท้จริง" และ "ความสามัคคีธรรม"
Subscribe to บทความ