บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
16
เมษายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : พรรคประชาชนลาว - พรรคประชาชนปฏิวัติลาว
รัฐบาลผสมชั่วคราวแห่งชาติ ซึ่งถือเป็น การรวมลาวครั้งที่ 3 นี้ นอกเหนือจาก เจ้าสุวันนะพูมา ซึ่งทำหน้าที่นายกรัฐมนตรีแล้ว รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเวียงจันทน์ คือ ท่านเหลื่อมอิน ศรีเชียงใหม่ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการด้วย ส่วนฝ่ายแนวลาวรักชาติ คือ พญาพูมี วงวิจิด ก็ควบตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
15
เมษายน
2565
ปฏิทินเดิมของไทย เวลาที่พระอาทิตย์ย่างขึ้นสู่ราศีเมษ เรียกว่า มหาสงกรานต์ และก็เป็นนักขัตฤกษ์เนื่องในการขึ้นปีใหม่ ต่อจากนั้นเป็น วันเนา คือ วันที่พระอาทิตย์โคจรอยู่ระหว่างสองราศี คือ มีนและเมษ และสุดท้ายเป็นวันเถลิงศกจุลศักราช ซึ่งในปัจจุบันได้กำหนด 3 วันนี้ ตามสุริยคติเป็นวันที่13-14-15 เมษายน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2565
วันนี้เมื่อ 5 ปีที่แล้ว (14 เมษายน 2560) มีข่าวแพร่สะพัดว่า หมุด ‘ก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญ’ หรือเรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ‘หมุดคณะราษฎร’ ได้หายไปจากจุดที่มันเคยอยู่ (จากการติดตามของสำนักข่าวประชาไทระบุมีความเป็นไปได้ที่หมุดจะหายไปในช่วงเวลาระหว่างวันที่ 3-7 เมษายน 2560) เป็นปริศนาจวบจนถึงวันนี้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
13
เมษายน
2565
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' นำเสนอเรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ที่มาของ "วันขึ้นปีใหม่" ในอดีต ไม่ว่าจะเป็น 1 เมษายน 13 เมษายน จนถึงกาลปรับเปลี่ยนในปัจจุบันเป็น วันที่ 1 มกราคม โดยประเด็นสำคัญที่ผู้เขียนนำเสนอนั้น วันที่ 1 เมษายน นอกจากจะเป็นวันปีใหม่แล้ว ยังถูกกำหนดให้เป็น "วันเริ่มต้นปีงบประมาณ" อีกด้วย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
12
เมษายน
2565
1 ปี ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม แม้จะไม่มีการลั่นกระสุนสักนัดแต่ก็ใช่ว่าการเมืองภายในจะราบรื่น ความขัดแย้งของรัฐบาลใหม่ที่เกิดจากการประนีประนอมกันนั้นค่อยก่อตัวจากคลื่นใต้น้ำจนปะทุเด่นชัดจากนโยบายการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจระหว่างนโยบายของฝ่าย ‘พระยามโนปกรณ์นิติธาดา’ และ “เค้าโครงการเศรษฐกิจ” หรือที่เรียกกันว่า “สมุดปกเหลือง” ของ ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’[1] ที่ได้เสนอต่อสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีเจตนารมณ์ที่จะทำให้สยามเป็นเอกราชทางด้านเศรษฐกิจ และแก้ไขปัญหาความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจใ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
11
เมษายน
2565
เมื่อได้ เลิกภาษีอันไม่เป็นธรรม และ จัดเก็บภาษีขึ้นใหม่ ตาม “ประมวลรัษฎากร” นั้น รายได้จากภาษีทางตรงของรัฐขาดไปประมาณ 11 ล้านบาท ไม่ใช่น้อยเลย แต่รัฐมนตรีคลัง ‘ดร.ปรีดี พนมยงค์’ ลูกกสิกรชาวกรุงเก่า ผู้มีสายเลือดจากบุพการีต่างสายกัน ไม่หวั่นวิตกเลย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
10
เมษายน
2565
เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2560 ‘เสน่ห์ จามริก’ มีอายุครบ 90 ปี ในวาระนี้ลูกศิษย์ลูกหาได้ร่วมกันจัดงาน “ดอกหญ้าไหว: สู่ชีวิตและสังคมเสรี บทเสวนาแห่งสามัญชน” ขึ้นที่ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ โดยมีลูกศิษย์ของเสน่ห์คนหนึ่งกล่าวรำลึกว่า เขาเป็นนักศึกษาแผนกรัฐศาสตร์ศึกษาที่เสน่ห์ดูแล ครั้งหนึ่งเล่นบาสเกตบอลแขนหัก ไม่อาจใช้มือขวาเขียนตอบข้อสอบได้ เสน่ห์ได้จัดการให้เขาสามารถสอบได้ ด้วยการให้อัดเสียงแล้วให้เจ้าหน้าที่ถอดเป็นคำตอบให้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
8
เมษายน
2565
บทความชิ้นนี้มีหมุดหมายเพื่อนำเสนอพัฒนาการแนวคิดความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และการปรับปรุงระบบภาษีอากรเพื่อราษฎรของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม[1] ก่อนการร่างพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรพุทธศักราช 2481 ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์สำคัญได้แก่ นิติสาส์น ฉบับปฐมฤกษ์ บันทึกการประชุมคณะกรรมการราษฎร และเค้าโครงการเศรษฐกิจ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
7
เมษายน
2565
ตั้งแต่เริ่มระบอบประชาธิปไตยมา แม้ในสภาผู้แทนราษฎรจะได้มีการร่ำร้องให้รัฐบาลลดหย่อนภาษีอากร และรัฐบาลได้ลดหย่อนลงจนถึงที่อยู่แล้วก็ตาม ภาษีอากรทั้งหมดที่เก็บอยู่นั้น เมื่อพิจารณาโดยทั่วๆ ไปแล้ว ยังเห็นว่า ยังไม่เป็นธรรมแก่ราษฎรอยู่ ราษฎรเป็นแต่เพียงรู้สึกหายใจคล่องและพ้นจากการผูกมัดรัดแน่น
ในด้านรัฐบาล รายได้จากการภาษีอากรทั้งหมด ก็ไม่พอแก่การที่จะบำรุงสร้างความเจริญก้าวหน้าให้ประเทศชาติ และในส่วนรวม ภาษีอากรเหล่านั้น ไม่เป็นคุณต่อการผลิตและการจำแนกทรัพย์ในระหว่างชั้นของราษฎร และยังมีภาษีอากรที่คนจนหรือคนมั่งมีต้องเสียเท่ากันอยู่ เช่น รัชชูปการ เป็นอาทิ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to บทความ
6
เมษายน
2565
ในสถานการณ์ปัจจุบันประเทศไทยกำลังประสบกับสภาวะเงินเฟ้อ ทำให้อำนาจซื้อของประชาชนลดลง เนื่องจากราคาสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น เงินจำนวนเท่าเดิมแต่สามารถซื้อสินค้าและบริการได้ลดลง