ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

บทบาท-ผลงาน
15
มีนาคม
2565
ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประพันธ์พระเจ้าช้างเผือก ได้สรรค์สร้าง "พระเจ้าจักรา" ให้เป็นผู้ปกครองเมืองด้วยหลักสันติธรรม ถึงแม้นว่าจะอยู่ในสภาวะแห่งสงคราม พระมหากษัตริย์อย่างพระเจ้าจักราก็ทรงเลือกใช้หลักแห่งสันติภาพเข้ามาจัดการให้ภัยสงครามผ่านพ้น
บทบาท-ผลงาน
14
มีนาคม
2565
เนื้อหากล่าวถึงแนวคิดสันติวิธีและสันติภาพที่นายปรีดี พนมยงค์ ผู้ประพันธ์ ได้สอดแทรกไว้ใน "พระเจ้าช้างเผือก" ไม่ว่าจะเป็นตัวบทภาพยนตร์ก็ดี หรือ ตัวละครก็ดี ผ่านการตีความในบริบทต่างๆ อาทิ สันติภาพ : ไม่ใช่การยอมจำนน, สันติวิธี : มุมมองจากศาสนาพุทธ และ สันติภาพเชิงโครงสร้าง : หนทางสู่สันติภาพในสังคม เป็นต้น
ชีวิต-ครอบครัว
13
มีนาคม
2565
“ท่านอาจารย์มีความชอบในภาพยนตร์เป็นการส่วนตัวหรือเปล่าคะ?” คำถามของ สุรัยยา (เบ็ญโส๊ะ) สุไลมาน ผู้ศึกษาประเด็นแนวคิดสันติวิธีของนายปรีดีผ่านภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" เมื่อครั้งเข้าทำการสัมภาษณ์ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ โดยมี คุณวาณี พนมยงค์ ร่วมสนทนาให้ข้อมูลในวงสัมภาษณ์นั้นด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
12
มีนาคม
2565
วันนี้ครบรอบ 18 ปีเต็ม ที่การถูกบังคับให้สูญหายยังไม่ได้ถูกรับการแก้ไขหรือเกิดความรับผิดชอบใดๆ ก็ตามจากรัฐไทย จนถึงวันนี้ 18 ปี แต่กลับมีจำนวนบุคคลที่ถูกบังคับให้สูญหายเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และยังไม่มีทีท่าว่าจะเกิดเป็นรายสุดท้าย หรือ ได้พบ "ร่าง" ของบุคคลเหล่านั้น
บทบาท-ผลงาน
11
มีนาคม
2565
‘ไสว สุทธิพิทักษ์’ ได้เขียนถึงเรื่องราวภายหลังเหตุการณ์จากการนำเสนอ “เค้าโครงการเศรษฐกิจ” คือ การนำออกแจกจ่ายสมุดปกขาวให้กับราษฎร ต่อเนื่องไปถึงเหตุการณ์รุนแรงในระบอบประชาธิปไตย คือ การปิดสภา งดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา จนถึงการให้สัมภาษณ์เชิงข่มขู่กับหนังสือพิมพ์เพื่อใส่ร้ายคณะราษฎรของฝ่ายอนุรักษนิยม เป็นต้น
บทบาท-ผลงาน
10
มีนาคม
2565
ข้อเสนอของปรีดี พนมยงค์ เรียบง่ายแต่ชัดเจน การจัดรัฐสวัสดิการและเงินเดือนพื้นฐานให้คนไทยทุกคน เริ่มต้นอยู่ที่ 20 บาทต่อเดือน คิดเป็นมาตรฐานของค่าครองชีพปัจจุบันแล้วประมาณ 4,000 บาทต่อเดือน สิ่งเหล่านี้ภาคประชาชนกำลังพูดถึง “เรื่องบำนาญ” พูดกันมา 80 - 90 ปี นี่คือสิ่งที่ถูกนำเสนอในรอบแรกของการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
9
มีนาคม
2565
สิ่งหนึ่งที่น่าสนใจและในบทความนี้ที่ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ'ได้หยิบยกมา คือ สังคมปัจจุบันนี้ไม่ได้ก้าวพ้นในสิ่งที่อาจารย์ป๋วยได้เคยพูดเสมือนถูกแช่แข็งเอาไว้ และในแง่นี้คำพูดของอาจารย์ป๋วยจึงยังคงอยู่กับสังคมมากกว่าปณิธานของอาจารย์ที่ได้แสดงไว้
แนวคิด-ปรัชญา
8
มีนาคม
2565
'ศรีสว่าง พั่ววงศ์แพทย์' ปาฐกถาเรื่อง "สตรีกับประชาธิปไตย" ความมีเสน่ห์ของงานชิ้นนี้ เริ่มต้นที่เล่าถึงการรับรู้บทบาทและสิทธิของสตรีจากประสบการณ์เยาว์วัยภายในครอบครัว ชุมชน ของผู้เขียนแล้วจึงค่อยๆ เปิดเผยความรับรู้เรื่องบทบาทของสตรีที่เชื่อมโยงกับสังคม
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
มีนาคม
2565
ฝ่ายแนวลาวรักชาติได้ขยายกองกำลังเติบใหญ่ขึ้นในพื้นที่ พวกฝ่ายตรงข้ามภายใต้การสนับสนุนอุ้มชูของจักรวรรดินิยมอเมริกาเสนอให้มีการประชุมที่เจนีวาในกลางปี ค.ศ. 1961 เพื่อหยุดยิงและนำไปสู่ความปรองดองแห่งชาติ แต่ข้อเสนอเปิดประชุมดังกล่าวก็ยังมีวาระซ่อนเร้นแอบแฝงอยู่
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มีนาคม
2565
ภาพจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในสังคมมักจะนึกถึงบทบาทนำในคณะราษฎรและเสรีไทย แต่ในมุมส่วนตัวของบรรดาลูกศิษย์และคนใกล้ชิด นายปรีดีคือครูผู้ใจดี เป็นผู้ใหญ่ที่เปิดกว้างต่อคนรุ่นใหม่ แม้ไม่เคยสนทนาโดยตรงแต่ทั้งภาพจำทางสังคมและการเล่าสู่กันฟัง มีหลายคนที่ชื่นชมนายปรีดี เช่น 'บุญมี เมธางกูร'
Subscribe to บทความ