ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2565
"ความเป็นกลาง" ที่นายปรีดีเน้นย้ำก็ได้ถูกถ่ายทอดออกมาเป็นภาพยนตร์ไทยที่มีชื่อว่า "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งประกาศในตอนจบไว้ว่า “ชัยชนะแห่งสันติภาพมิได้มีชื่อเสียงบันลือนามน้อยไปกว่าชัยชนะแห่งสงคราม”
แนวคิด-ปรัชญา
2
มีนาคม
2565
สัมภาษณ์ นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส โดยหนังสือพิมพ์รายวัน “มติชน” ณ บ้านพักชานกรุงปารีส เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2523 และได้ลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์รายวัน “มติชน” เมื่อวันอาทิตย์ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2523
บทบาท-ผลงาน
1
มีนาคม
2565
เหตุการณ์ ร.ศ. 130 เป็นความพยายามเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ให้เป็นระบอบประชาธิปไตยของกลุ่มทหารและปัญญาชนที่เกิดขึ้นในยุคต้นรัชกาลที่ 6
แนวคิด-ปรัชญา
28
กุมภาพันธ์
2565
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' จะพาเราไปรู้จักกันว่า "ข้อมูลส่วนบุคคลคืออะไร" "ทำไมข้อมูลส่วนบุคคลจึงกลายเป็นสิ่งมีค่า" ทำความเข้าใจกับ "กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลกับการกำกับดูแลการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล" และ ธุรกิจกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็นต้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2565
เกิดอะไรขึ้นในขณะที่คณะลิเกของสุชินกำลังจะถึงคิวออกอากาศในวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์อย่าง “ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492” ติดตามได้ในบทความของอาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ นี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2565
ประเทศไทย ณ ห้วงเวลานั้น ถูกปกครองโดยระบอบเผด็จการ จนในท้ายที่สุด จึงเกิดการรวมกลุ่มของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ที่ทำงานใกล้ชิด และอดีตสมาชิกเสรีไทย ดังที่ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ ได้บันทึกไว้ในบทความนี้
บทสัมภาษณ์
25
กุมภาพันธ์
2565
บทสัมภาษณ์สุด exclusive กับ ‘คุณภักดี ธนะปุระ’ อดีตกรรมการและผู้อำนวยการฝ่ายงานระหว่างประเทศ สมาคมคลองไทย กับการพูดคุยถึงความเป็นมาเรื่องคอคอดกระ แนวความคิดท่านปรีดีในอดีต และอัปเดตความเป็นไปในปัจจุบันถึงโครงการนี้ว่ามีความเป็นอย่างไรบ้าง
แนวคิด-ปรัชญา
24
กุมภาพันธ์
2565
โครงการสร้างคลองเชื่อมระหว่างทะเลอันดามันกับอ่าวไทยนั้นยังคงเป็นโครงการขนาดใหญ่ที่ถูกพูดถึงอยู่ทุกสมัยตลอดเวลา และอาจจะถูกพูดถึงอีกตลอดไปเรื่อยๆ ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
กุมภาพันธ์
2565
‘รวินทร์ คำโพธิ์ทอง’ นำเสนอพรมแดนความรู้ของการรัฐประหาร ภาพรวมจากการศึกษาผลงานสำคัญในการวิเคราะห์การรัฐประหารว่าสาเหตุและลำดับเหตุการณ์อย่างไร โดยหลักมาจากการเสียผลประโยชน์ของกลุ่มธุรกิจที่อิงการแสวงหาผลประโยชน์กับอำนาจนิยมเดิม สภาพปัญหาการคอร์รัปชันของรัฐบาลชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นเงื่อนไขสำคัญของการก่อการในครั้งนี้
แนวคิด-ปรัชญา
22
กุมภาพันธ์
2565
บทความของศาสตราจารย์ ดร.กนต์ธีร์ ศุภมงคล อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอน เสนอมุมมองคลองกระกับปัญหาความมั่นคง โดยเปรียบเทียบประวัติศาสตร์การขุดคลองสำคัญ 3 แห่งในมิติความมั่นคงระหว่างประเทศ คือ คลองสุเอซ คลองคีล และ คลองปานามา
Subscribe to บทความ