ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

เกร็ดประวัติศาสตร์
15
เมษายน
2568
อาจารย์ดิเรก ชัยนาม ตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งทูตหลังรัฐประหารปี 2490 เพราะยึดหลัก "เกียรติ" เหนือผลประโยชน์ส่วนตัว และเลือกความถูกต้องทางจริยธรรม การกระทำนี้สะท้อนความกล้าหาญและคุณธรรมของผู้นำที่แท้จริง
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
เมษายน
2568
ช่วงชีวิตหนึ่งเจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่คนแรก กับบทบาทและความสัมพันธ์ระหว่างนายปรีดี พนมยงค์และเจ้าวงศ์ ตั้งแต่ช่วงเวลาการถ่ายภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก ภาพยนตร์ถ่ายทำที่จังหวัดแพร่ และบทบาทสมาชิกขบวนการเสรีไทยจังหวัดแพร่ กับการมีส่วนร่วมในการจัดตั้งและดำเนินงานของขบวนการเสรีไทย
บทสัมภาษณ์
8
เมษายน
2568
PRIDI Interview สรรเสริญ และกฤต ไกรจิตติ เสนอประวัติชีวิต บทบาท และผลงานของนายปรีดี พนมยงค์ และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ผ่านหลักฐานชั้นต้นหนังสืออนุสรณ์งานศพและประสบการณ์ส่วนบุคคลของทั้งสองท่าน
แนวคิด-ปรัชญา
7
เมษายน
2568
ความพยายามของกลุ่มผลักดันและภาคประชาสังคม ที่ร่วมมือเสนอการคิดบำนาญสูตร CARE โดยนำเสนอถึงรายละเอียดและความสำคัญของสูตร CARE และวิเคราะห์กลุ่มที่คัดค้าน เพื่อนำไปสู่สูตรการคิดบำนาญที่เท่าเทียมและเป็นธรรมต่อประชาชนทุกคนในประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
4
เมษายน
2568
การปฏิรูประบบบำนาญเป็นอีกทางออกที่จะสร้างการมีส่วนร่วมตามหลักประชาธิปไตย เพื่อลดความเหลื่อมล้ำและให้คนทุกกลุ่มเท่าเทียมกัน
แนวคิด-ปรัชญา
3
เมษายน
2568
ปรีดี พนมยงค์ กับแนวคิดสวัสดิการสังคมและความเหลื่อมล้ำ โดยบทความนี้ชี้ให้เห็นถึงรากฐานทางความคิดของปรีดี พนมยงค์ ที่นำไปสู่แนวคิดความเท่าเทียมทางเศรษฐกิจของประชาชนภายในประเทศสยาม ที่ทุกคนจะในประเทศจะได้รับสวัสดิการที่เท่าเทียมกันไม่ใช่เฉพาะกลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
วันนี้ในอดีต
2
เมษายน
2568
บทความนี้มุ่งเสนอชีวิตและบทบาทของผู้แทนทอง กันทาธรรม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ ที่ในสมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา ผู้แทนทอง บุคคลที่มีบทบาทสำคัญในฐานะหัวหน้าขบวนการเสรีไทยแพร่ที่มีบทบาทส่งข้อมูลทางทหารให้กับฝ่ายสัมพันธมิตร และรวบรวมประชาชนในพื้นที่เพื่อเตรียมฝึกอาวุธหากเกิดการต่อสู้
แนวคิด-ปรัชญา
1
เมษายน
2568
ในวาระการประกาศใช้ประมวลรัษฎากร ครั้งแรกในประเทศไทย พ.ศ. 2482 นำเสนอที่มาของภารกิจสำคัญของนายปรีดี พนมยงค์ และคณะราษฎร ที่จัดทำระบบภาษีขึ้นมาแทนการจัดเก็บภาษีอากร ซึ่งเป็นการจัดเก็บภาษีในรูปแบบอดีต รวมไปถึงการยกเลิกเงินค่ารัชชูปการ ที่นำไปสู่การวางรากฐานของระบบภาษีในปัจจุปัน
บทสัมภาษณ์
29
มีนาคม
2568
PRIDI Interview สัมภาษณ์พันตรีพุทธินาถ พหลพลพยุหเสนา บุตรชายพระยาพหลพลพยุหเสนา หนึ่งในผู้นำการอภิวัฒน์สยามในวาระชาตกาล 29 มีนาคม พระยาพหลฯ มีนิสัยซื่อสัตย์ กล้าหาญ และสมถะ และตกทอดมายังบุตรชายจนถึงปัจจุบัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มีนาคม
2568
สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ) ผู้เป็นพระอาจารย์ของพระยาพหลพลพยุหเสนา ผู้นำคณะราษฎร และอภิวัฒน์สยาม 2475 ที่ไม่เพียงเปลี่ยนแปลงการเมืองเพียงเท่านั้น แต่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงพุทธศาสนาตามหลักประชาธิปไตย
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์