ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์
23
สิงหาคม
2566
ข้อเขียนจากมุมมองของ ‘หนิ่ง’ ธิดาคนสุดท้องของท่านชิ้น หรือ ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัฒน เล่าถึงบรรยากาศและความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวที่เกิดขึ้นตลอดที่ ‘พ่อ’ กลับมาอยู่ที่ไทยหลังสงครามโลกสิ้นสุดลง
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2566
การก่อกำเนิดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองเป็นไปตามเจตนารมณ์ของคณะราษฎร ด้วยความมุ่งหวังให้ประชาชนสามารถมีโอกาสศึกษาเล่าเรียนเพื่อเป็นกำลังสำคัญและเป็นสายธารที่รับใช้ประชาชน และช่วยให้ระบอบประชาธิปไตยดำเนินสืบต่อไป
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
สิงหาคม
2566
อาคารพิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์ นับเป็นหนึ่งในอาคารที่มีความสำคัญกับสังคมไทยในฐานะสถานที่ซึ่งรวบรวมความทรงจำและบอกเล่าถึงความเป็นขบวนการเสรีไทยเพื่อการปลดปล่อยการยึดครองประเทศไทยของประเทศญี่ปุ่น และร่วมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2566
ชีวประวัติย่อของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตลอดจนช่วงชีวิตในอังกฤษระหว่างที่สงครามโลกครั้งที่ 2 พร้อมทั้งบทบาทของพระองค์ในฐานะผู้สนับสนุนกิจการเสรีไทยสายอังกฤษในด้านต่างๆ อีกทั้งชีวิตในบั้นปลายของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ในช่วงทศวรรษที่ 2490 รวมไปถึงความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างพระองค์ กับ ครอบครัวปรีดี - พูนศุข พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2566
ภายใต้ความมืดมิดและอับเฉา และสิ่งที่เป็นลบหลายประการในสังคม ชีวิตและพฤติการณ์ของ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ กลับเป็นประหนึ่งแสงสว่างอันจัดจ้าจุดหนึ่ง ในท่ามกลางความเลวร้ายอันมืดมิด ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้บำเพ็ญตนให้แก่ชาติบ้านเมือง พยายามแก้ไขความไม่เป็นธรรมในสังคม และขจัดภาวะความเสียเปรียบของคนส่วนข้างมากให้หมดไป
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กรกฎาคม
2566
เรื่องราวข้อเขียนรำลึกถึง ‘ม.ร.ว.สายสวัสดี สวัสดิวัตน’ โดย ‘กษิดิศ อนันทนาธร’ ผู้สนใจประวัติศาสตร์การเมืองและสังคมไทย ซึ่งได้รู้จักและมีความคุ้นเคยกับสตรีผู้นี้มากว่า 12 ปี
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กรกฎาคม
2566
ที่มาและการออกแบบของตึกโดม ซึ่งเป็นสัญลักษณ์หรือภาพแทนตัวของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อย่างทุกวันนี้ และยังเป็นมรดกสำคัญของคณะราษฎรที่ส่งต่อมาให้อยู่คู่กับมหาวิทยาลัยแห่งนี้ มีกระบวนการออกแบบและเรื่องราวที่เกี่ยวข้องเช่นใด
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2566
นายพึ่ง ศรีจันทร์ อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรสมัย พ.ศ. 2490 นับเป็นบุคคลในแบบอย่างของการวางตัวให้สมาชิกทุกพรรคเคารพยำเกรงในการทำหน้าที่
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มิถุนายน
2566
เรื่องราวการเปิดประชุมสภาครั้งแรกในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ภายใต้ระบอบใหม่นี้เองฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติดำเนินการนโยบายต่างๆ ผ่านสภาผู้แทนราษฎร เพื่อทำหน้าที่ใช้สิทธิออกเสียงแทนประชาชนทั่วประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มิถุนายน
2566
อนุสรณ์รัฐธรรมนูญจังหวัดจันทบุรี ฉายภาพให้เห็นถึงความตื่นตัวและความสัมพันธ์ระหว่างราษฎรในท้องถิ่นกับระบอบใหม่ ตลอดจนวิเคราะห์รายละเอียดและคุณค่าทางสถาปัตยกรรมของอนุสาวรีย์แห่งนี้ซึ่งสะท้อนความทรงจำของการระบอบใหม่
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์