เกร็ดประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
14
มิถุนายน
2565
การทำนาเป็นรากฐานสำคัญที่สุดของเศรษฐกิจสังคมสยาม ตลอดระยะเวลาของประวัติศาสตร์อันยาวนาน การปลูกข้าวเพื่อส่งออกและการค้าภายในเป็นกิจกรรมหลักทางเศรษฐกิจ โดยในช่วงต้นของ พ.ศ. 2400 สินค้าส่งออกทางการเกษตรมีสัดส่วนถึง 80 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด สังคมเกษตรกรรมช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้นจึงต่อเนื่องยาวนานจนถึง พ.ศ. 2490
สังคมภาคเกษตรในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ ถือเป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยชาวนาอิสระจำนวนมาก และชาวนาเหล่านี้ก็สามารถจับจองพื้นที่ในการเพาะปลูกได้ สังคมในลักษณะดังกล่าวสะท้อนถึงวัฒนธรรมแห่งการพึ่งตนเอง ให้คุณค่ากับความเสมอภาค และยึดถือประเพณีช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : หวอเหงียนย้าป จอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์ : นักอภิวัฒน์หนุ่ม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2565
ปรีดี พนมยงค์ไม่เห็นด้วยกับข้อสรุปของประธานคณะกรรมการชันสูตรพระบรมศพสรุป
นายปรีดี พนมยงค์ ตำหนิการให้ความเห็นของแพทย์ว่าทำเกินขอบเขตหน้าที่ของแพทย์ และไม่เห็นด้วยกับข้อสรุปของคณะแพทย์ในส่วนที่ไม่ได้เป็นเอกฉันท์ โดยปรากฏคำให้การของ นายแพทย์นิตย์ เวชชวิศิษฏ์ ที่เบิกความในศาลอาญาเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 ไว้ตอนหนึ่งว่า
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มิถุนายน
2565
ย้อนไปช่วงปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ก่อนหน้าที่กลุ่มของ “คณะราษฎร” จะร่วมกันเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ในสังคมไทยเคยปรากฏกลุ่มของบุคคลหลายคณะที่ก่อตัวขึ้นเพื่อเคลื่อนไหวเรียกร้องความเป็นธรรมให้แก่ราษฎรผู้ได้รับผลกระทบจากการปกครองแบบระบอบศักดินา
ณ บัดนี้ ผมจะพาคุณผู้อ่านไปทำความรู้จักกับ “คณะ” ต่างๆ เหล่านั้น
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
มิถุนายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : หวอเหงียนย้าป จอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์ ถิ่นกำเนิดแห่งปฐมวัย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2565
เนื้อหาในบทความนี้ ได้รวบรวมฎีกาต่างๆ ที่บอกถึงความทุกข์ยาก ถูกเอารัดเอาเปรียบของชาวนาและราษฎรไทยบนแผ่นดินสยาม เมื่อครั้งสยามประเทศยังปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ทั้งในเรื่องความเป็นอยู่ และสภาพเศรษฐกิจในเวลานั้น เรื่องเหล่านี้เองเป็นสาเหตุใหญ่ซึ่งเป็นที่มาของการอภิวัฒน์สยาม 2475
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤษภาคม
2565
“หวอเหงียนย้าป” (VO NGUYEN GIAP) เกิดที่หมู่บ้านอานซา (AN XA) จังหวัดกว๋างบิ่นห์ เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1911
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
พฤษภาคม
2565
พ.ศ. 2565 นอกจากจะเป็นวาระ 90 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยามแล้ว ยังมีอีกวาระสำคัญ นั่นก็คือ 90 ปีแห่งการก่อตั้งสวนโมกขพลาราม 'นริศ จรัสจรรยาวงศ์' ได้นำเสนอ คำสัมภาษณ์บางช่วงบางตอนถึงปฏิกิริยาของพุทธทาสภิกขุภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองและ "เทศนาเทอดระบอบใหม่" ซึ่งผู้เขียนสันนิษฐานว่าเป็นการเทศนาที่ท่านอาจารย์ได้แสดงขึ้นที่โรงเรียนสารภีอุทิศ เมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2481
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
22
พฤษภาคม
2565
‘อนันต์ โลเกตุ’ เด็กหนุ่มวัย 18 ปี จากอำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ลาอุปสมบทจากการบวชสามเณรวัดใกล้บ้าน เพื่อเข้าสมัครเรียนต่อในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อเปิดเทอมไม่นาน เขาก็ได้ประจักษ์การรัฐประหารด้วยตาของตัวเอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 คือ การเป็นพยานรู้เห็นโดยตรงต่อการใช้กำลังอาวุธเปลี่ยนแปลงรัฐบาลสำเร็จ ครั้งที่ 13 ในประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์
18
พฤษภาคม
2565
'ศิริ สันตะบุตร' ผู้ว่าราชการคนสุดท้ายที่มาจากการแต่งตั้ง ดำเนินชีวิตอยู่บนสายงานราชการด้วยการเป็นนักปกครองที่ซื่อสัตย์สุจริต ดังคำกล่าวของ คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์ ปลัดกรุงเทพมหานคร ณ ขณะนั้นว่า “ท่านเป็นคนอ่อนโยน…เป็นคนตรงเป็นไม้บรรทัด”