เกร็ดประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กุมภาพันธ์
2564
หลังจากหลบซ่อนตัวอยู่เป็นเวลา 5 เดือน นายปรีดี พนมยงค์ จึงตัดสินใจลี้ภัยออกจากสยามประเทศอีกครั้ง โดยมอบหมายให้ท่านผู้หญิงพูนศุขจัดหาลู่ทางในการหลบหนีและขอความช่วยเหลือจากมิตรผู้ซื่อสัตย์ทั้งชาวไทยและชาวจีนซึ่งได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดีในเรื่องของการเตรียมที่เตรียมทาง แต่ทว่าไม่ได้ราบรื่นไปเสียทั้งหมด เพราะหนทางยาวไกลนั้นเกิดอุปสรรคนานานัปการให้คอยแก้ไข ให้คอยลุ้นอยู่ตลอดกว่าจะถึงปลายทางเกือบไม่รอดหลายต่อหลายครั้ง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
25
กุมภาพันธ์
2564
นายปรีดี พนมยงค์ พร้อมด้วยนายแช่ม พรหมยงค์ นายสงวน ตุลารักษ์ เรือเอกวัชรชัย ชัยสิทธิเวช และ สิบตำรวจโทสิงห์โต ไทรย้อย ได้เดินทางออกจากสิงคโปร์ ในราวปลายเดือนพฤษภาคม 2491 ไปยังฮ่องกง และไปถึงเซี่ยงไฮ้ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2491
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
18
กุมภาพันธ์
2564
“รัฐธรรมนูญไม่ต้องการให้มีไพร่ มีข้า มีทาส แต่ต้องการให้ทุกคนเป็นพลเมือง ...ทุกวันนี้ รัฐธรรมนูญทำให้พลเมืองรู้สึกว่าประเทศเป็นของเขาทั้งหลายทุกคน มิใช่เป็นของบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือคณะใดคณะหนึ่งโดยเฉพาะ”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2564
17 กุมภาพันธ์ ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) นายเฉลียว ปทุมรส นายชิต สิงหเสนี และ นายบุศย์ ปัทมศริน 3 จำเลยผู้บริสุทธิ์ถูกประหารชีวิตในกรณีสวรรคต
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กุมภาพันธ์
2564
เนื่องในวาระเทศกาลวันแห่งความรักของเดือนกุมภาพันธ์ ถ้าจะทดลองเอ่ยถึงลักษณะการเดินทางไปทัศนาจรด้วยกันของนายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์อันเข้าเค้า ‘ฮันนีมูน’แล้ว ก็คงน่าสนใจไม่เบา ประกอบกับมีเกร็ดข้อมูลที่สามารถจะแจกแจงได้พอสมควร
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
10
กุมภาพันธ์
2564
อาจกล่าวได้ว่า กบฏเสนาธิการหรือกบฏนายพลนี้ เป็นผลผลิตของการต่อต้านรัฐประหารภายในกองทัพบกเอง ซึ่งสุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้มองว่าเป็นการเคลื่อนไหวครั้งนี้ได้เกิดขึ้นจากปัจจัย 2 ประการ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กุมภาพันธ์
2564
รัฐประหาร 2490 เป็นเครื่องเตือนให้รู้ว่า ตราบใดที่การแข่งขันทางการเมืองยังมิได้ขยายฐานแห่งอำนาจไปสู่ประชาชน การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองโดยการใช้กำลังย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
กุมภาพันธ์
2564
รัฐประหาร 2490 นั้นมิได้มีความสำคัญเฉพาะในทางการเมือง ซึ่งการรัฐประหารในครั้งนี้ไม่ได้ฉุดรั้งการพัฒนาของประชาธิปไตยไทยแต่เพียงอย่างเดียว แต่การรัฐประหาร 2490 นั้นได้ผลักดันแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยให้เป็น “ทุนนิยมโดยรัฐ” แบบเข้มข้น โดยเอื้อประโยชน์ให้ส่วนตัวและให้ความคุ้มครองแก่พ่อค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อสงครามเย็นเริ่มต้น การเข้ามามีบทบาทของพญาอินทรี ทำให้เกิดความสัมพันธ์สามฝ่ายระหว่าง ขุนศึก พ่อค้า และพญาอินทรี
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
6
กุมภาพันธ์
2564
มองย้อนอดีตไปเมื่อปี พ.ศ. 2492 เหตุการณ์ทางการเมืองหนึ่งได้ปรากฏขึ้นที่ประเทศไทยและถูกเรียกขานให้เกี่ยวโยงกับกรณีสังหารบุคคลสำคัญชาวพม่าผู้เป็นวีรบุรุษแห่งชาติ นั่นคือเหตุการณ์ ‘กบฏระบบสังหารอูอองซาน’
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ก่อการรัฐประหารส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการ เริ่มแรกบรรดาผู้ก่อการต่างคนต่างคิดมีทั้งหมด 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีพวกพ้องของตนโดยเฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งทั้ง หมดได้มาพบปะและรู้ความประสงค์ซึ่งกันและกัน โดยใช้วัตถุประสงค์ที่ร่วมกันร่างเป็น "ข้ออ้าง" ในการกระทำรัฐประหารในครานั้น