ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
5
มกราคม
2567
"อันว่าเงินคงคลังนั้นเป็นฉันใด" อธิบายถึงความหมายของเงินคงคลังตามทฤษฎีการคลังสาธารณะ, ความหมายของเงินคงคลังตามทฤษฎีการคลังสมัยเก่า, ความหมายของเงินคงคลังตามทฤษฎีการคลังสมัยใหม่ และ ความหมายของเงินคงคลังที่ใช้ในทางการคลังของประเทศไทย เป็นต้น
แนวคิด-ปรัชญา
1
มกราคม
2567
เนื่องในศุภวาระขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช 2567 ในนามของคณะกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ผมขอส่งความปรารถนาดีมายังแฟนเพจทุกท่าน ผู้รักชาติรักประชาธิปไตยและยึดมั่นในสันติธรรมทั้งหลาย 
แนวคิด-ปรัชญา
31
ธันวาคม
2566
"ไม่ว่าอดีตหรืออนาคต ก็ต้องปัจจุบันเป็นหลัก" ส่วนหนึ่งใน "พรตลอดปี ชีวิตดีตลอดไป" จาก ธรรมกถาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) เมื่อครั้งดำรงสมณศักดิ์เป็นพระเทพเวที โดยปาฐกถาแก่คณาจารย์แพทย์ แพทย์ พยาบาล โรงพยาบาลศิริราช และผู้เข้าร่วมประชุม ณ โรงพยาบาลศิริราช เมื่อ 4 มกราคม 2534
แนวคิด-ปรัชญา
28
ธันวาคม
2566
เมื่อการเบียดเบียนหมดไป ยุคมิคสัญญีย่อมสิ้นสุดลง และยุคใหม่คือยุคศรีอารยเมตไตรยก็เกิดขึ้นมาแทนที่ สอดคล้องกับแก่นธรรมที่พระอรรถกถาจารย์นำมาสอน เราจึงควรศึกษาให้เข้าใจถ่องแท้ว่าอะไรเป็นจิตธรรมและอะไรเป็นสสารธรรม และเข้าใจกฎแห่งอนิจจังของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อนำมาใช้อย่างถูกต้องตรงกับกฎธรรมชาติและกฎวิทยาศาสตร์ทางสังคม
แนวคิด-ปรัชญา
26
ธันวาคม
2566
ธุรกิจแพลตฟอร์มในปัจจุบันนี้ กลายเป็นตัวแปรผันในการประกอบกธุรกิจแบบดั้งเดิม โดยได้เปลี่ยนแปลงเป็นรูปแบบของตลาดหลายด้าน และส่งผลกระทบต่อระบบกฎหมายแรงงาน
แนวคิด-ปรัชญา
24
ธันวาคม
2566
ช่วงสุดท้ายของงานเสวนา PRIDI Talks #23 x PBIC "รื้อ ร่าง สร้าง รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ ได้ถามคำถามสำคัญแก่ผู้ร่วมเสวนาทุกท่านถึงความคาดหวังที่มีต่อข้อสรุปของคณะกรรมการฯ ประกาศจะแถลงแนวทางประชามติสู่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในวันที่ 25 ธันวาคมนี้
แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2566
‘นายชัยธวัช ตุลาธน’ กล่าวติดตามข้อสรุปที่นายนิกรในฐานะโฆษกของคณะกรรมการที่รัฐบาลแต่งตั้งนำเสนอและการแจ้งถึงคณะกรรมการจะมีการประชุมในวันที่ 25 ธันวาคม รวมถึงกรณีการไต่สวนคดีการปกครองของพรรคก้าวไกลที่ถูกฟ้องครั้งแรก ซึ่งสะท้อนประเด็นปัญหาการเมืองของไทย
แนวคิด-ปรัชญา
22
ธันวาคม
2566
‘นิกร จำนง’ ได้กล่าวประเด็นถึงอีกก้าวสำคัญของการร่างรัฐธรรมนูญที่เปรียบเสมือนระบบปฏิบัติการ ที่จะต้องขับเคลื่อนประเทศชาติ ปรับโครงสร้างของชาติให้มั่นคง อีกทั้งยังทำหน้าที่ปรับแก้รัฐธรรมนูญอย่างต่อเนื่อง ในการประเทศชาติต้องมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
แนวคิด-ปรัชญา
21
ธันวาคม
2566
‘รศ.ดร.นันทนา นันทวโรภาส’ เปิดประเด็นหลักการสำคัญและข้อเสนอในการเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ ที่มีการเชื่อมโยงกับประชาชน ปราศจากการครอบงำของอำนาจที่ไม่ชอบธรรม ซึ่งเป็นการได้มาของรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนอย่างแท้จริง
แนวคิด-ปรัชญา
19
ธันวาคม
2566
ผศ.ดร.พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย’ เปิดประเด็นถึง รัฐธรรมนูญฉบับ ปี 2560 พบปัญหาอยู่เยอะพอสมควร เริ่มต้นมีการใช้เทคนิคในการร่างที่ซับซ้อน เป็นผลพวงของการผนวกรวมกับรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ปี 2557
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา