ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
28
ตุลาคม
2567
เปลื้อง วรรณศรี วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อ พ.ศ. 2493 ว่ามีลักษณะทอดทิ้งประชาชน ในนิตยสารรัฐบุรุษ ฉบับวันเกิดปรีดี พนมยงค์ 11 พฤษภาคม 2493
แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ ชี้ให้เห็นว่า ภายหลังจากการแถลงนโยบายของรัฐบาล หากเกิดปัญหาในรัฐบาลนายกรัฐมนตรีต้องเป็นผู้ที่รับผิดชอบคณะรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบร่วมกัน
แนวคิด-ปรัชญา
25
ตุลาคม
2567
เมื่อ พ.ศ. 2514 นายปรีดี พนมยงค์ ได้กล่าวถึงข้อสังเกตเกี่ยวกับเอกภาพของชาติ ในประเทศที่มีความแตกต่างกันทางเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา โดยยกอุทาหรณ์ในอดีตที่เคยเกิดขึ้นทั้งในต่างประเทศและในประเทศเองมาให้ 'อนุชน' พิจารณา
แนวคิด-ปรัชญา
20
ตุลาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เขียนถึงการฟื้นคืนอำนาจเผด็จการตั้งแต่การรัฐประหาร พ.ศ. 2490-2515 และวิเคราะห์สาเหตุรวมถึงการออกแบบการเมืองของคณะรัฐประหารในแต่ละยุค
แนวคิด-ปรัชญา
20
ตุลาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในปี 2492 ที่แม้จะได้คะแนนเสียงลงมติไว้วางใจผ่านแต่การที่ทำให้รัฐสภาไม่มีฝ่ายค้านนับเป็นปัญหาที่ทำให้ขาดการตรวจสอบและถ่วงดุล
แนวคิด-ปรัชญา
18
ตุลาคม
2567
ในวาระ 51 ปี 14 ตุลา รศ. ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ เสนอบทวิเคราะห์ทางการเมืองไทยว่ายังมีการวนลูปของระบบบประชานิยมทุจริต และมีการยึดอำนาจเปลี่ยนผ่านเป็นตุลาการรัฐประหารและนิติสงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
12
ตุลาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์เรื่องการแถลงนโยบายของรัฐบาลเมื่อ พ.ศ. 2492 ว่าเป็นเสมือนคำอธิษฐานที่ไม่สามารถดำเนินการในทางปฏิบัติให้เป็นประโยชน์แก่ราษฎรได้โดยเฉพาะเรื่องการราชทัณฑ์
แนวคิด-ปรัชญา
8
ตุลาคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ ระบุไว้ในบันทึกประกอบการประท้วงว่าหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยนายประยูร ภมรมนตรี บิดเบือนข้อเท็จจริงเรื่องการอภิวัฒน์สยามคือนายประยูรอ้างว่าตนเป็นผู้ที่ชักชวนให้บุคคลสำคัญมาเข้าร่วมการอภิวัฒน์
แนวคิด-ปรัชญา
5
ตุลาคม
2567
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝ่ายค้านได้วิพากษ์ตำหนิ การกระทำของรัฐบาลและบุคคลที่เกี่ยวข้อง และข้อเสียนโยบายของรัฐบาลที่ได้แถลง
แนวคิด-ปรัชญา
28
กันยายน
2567
การอภิปรายในรัฐสภาสิ่งสำคัญของการอภิปรายคือ การแถลงและอภิปรายนโยบายของรัฐบาลในการปกครองประเทศนับว่าเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ที่แท้จริงของประชาชน แต่การสาบาลซ้ำของรัฐบาลในรัฐสภากลับเป็นการสร้างความไม่น่าเชื่อถือให้กับประชาชนในพื้นที่รัฐสภา
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา