ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
2
กุมภาพันธ์
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ กล่าวถึงเหตุการณ์ที่อธิบดีกรมโฆษณาการ ปี 2493 เรียกร้องจะตรวจร่างปาฐกถาของหม่อมเจ้าวิวัฒน์ไชย ไชยันตร์ ในงานของสมาคมนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เพื่อไม่ให้มีเรื่อง “การเมือง”
แนวคิด-ปรัชญา
1
กุมภาพันธ์
2568
บทความพาสำรวจพัฒนาการขององค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ที่ถูกตั้งขึ้นโดยคณะราษฎรในปี 2476 แต่ถูกขัดขวาง,บิดเบือนและปลอมแปลง ด้วยเทคนิคต่างๆของฝ่ายอำนาจนิยม
แนวคิด-ปรัชญา
27
มกราคม
2568
ปรีดี พนมยงค์ เขียนเกร็ดประวัติประมวลกฎหมายแพ่งฝรั่งเศส ที่นโปเลียน โบนาปาร์ต มีส่วนสำคัญต่อประมวลกฎหมายแพ่งทั้งประเทศฝรั่งเศส และเป็นตัวอย่างของประมวลกฎหมายแพ่งแก่ทั่วโลก
แนวคิด-ปรัชญา
26
มกราคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิเคราะห์รูปแบบกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของบุคคลในรัฐบาลพรรคเลเบอร์ของอังกฤษและออสเตรเลียนในปี 2492 ซึ่งแตกต่างจากมุมมองของรัฐมนตรีมหาดไทยในรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
24
มกราคม
2568
ปรีดี พนมยงค์ เชียนบทความเชิงวิชาการเกี่ยวกับกฎหมายครั้งแรกในนิตยสารบทบัณฑิตย์ โดยได้อธิบายถึงเงื่อนไขและรูปแบบการเรียนวิชากฏหมายในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ระดับปริญญาตรีจนถึงระดับปริญญาเอก
แนวคิด-ปรัชญา
23
มกราคม
2568
บทความนี้เสนอ 3 ประเด็นสำคัญคือ หนี้ครัวเรือนไทย การเป็นหนี้ไม่ใช่ความผิดบาป และมายาคติของกฎหมายล้มละลาย โดยข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทยชี้ให้เห็นว่า ระดับหนี้ครัวเรือนไทยหลายปีที่ผ่านมาได้แตะระดับสูงสุดในรอบทศวรรษ
แนวคิด-ปรัชญา
22
มกราคม
2568
ปรีดี พนมยงค์ ที่นำเสนอโต้แย้งงานของ พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี กรณีการโยนความผิดในการปิดสภาฯ ให้พระยาทรงสุรเดช และจากหลักฐานคำให้การ ชี้ไปในทางเดียวกันว่า พล.ท.ประยูร นั้นมีความนิยมในลัทธิเผด็จการทหารและลัทธินาซี
แนวคิด-ปรัชญา
21
มกราคม
2568
บทความนี้เสนอเรื่องสวัสดิการในระยะเปลี่ยนผ่านรัฐบาลในปี 2567 โดยชี้ให้เห็นว่าสวัสดิการพื้นฐานสำคัญ 3 ด้านที่รัฐควรตระหนักคือ ด้านสาธารณสุข ด้านการศึกษา และด้านแรงงาน รวมทั้งใช้กรณีเปรียบเทียบกับประเทศเดนมาร์ก
แนวคิด-ปรัชญา
19
มกราคม
2568
รวมคำถาม ข้อเสนอ และมุมมอง สตรีกับสันติภาพ : บทบาทภายใต้กระแสชาตินิยมและมุมมองความมั่นคงในเอเชียนตะวันออกเฉียงใต้
แนวคิด-ปรัชญา
19
มกราคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิเคราะห์ข่าวของรัฐจากหนังสือพิมพ์และลักษณะความสงเคราะห์ที่ทางราชการไทยให้แก่เด็กไทยในปี 2492 โดยชี้ให้เห็นว่าจิตใจที่สงเคราะห์สำคัญโดยเตือนเจ้าหน้าที่รัฐที่ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา