ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
23
มกราคม
2567
ในช่วงสุดท้ายของการเสวนา PRIDI Talks #24 “การต่อสู้เพื่อสิทธิและสันติภาพ“ ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล ได้ถามคำถามสำคัญจากผู้เข้าร่วมงาน และมีการกล่าวถึงสรุปประเด็นภาพรวมของสิทธิและสันติภาพในมุมของการทำงานและประสบการณ์ของแต่ละท่าน
แนวคิด-ปรัชญา
22
มกราคม
2567
ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล กล่าวถึงประสบการณ์ การทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย ที่ทำให้เจอกับการสบประมาท การด้อยค่า สาเหตุสำคัญมาจากสภาพสังคมไทยที่ถูกกดทับด้วยระบบชายเป็นใหญ่ นอกจากนั้นยังกล่าวถึงการต่อสู้ช่วงในปี 2559 ซึ่งเป็นกรณีของ ‘กรกนก คำตา’ หรือพี่ปั๊ป ที่ถูกจับเข้าไปในเรือนจำ อีกทั้งประเด็นเรื่องรัฐสวัสดิการ และรัฐธรรมนูญอีกด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
21
มกราคม
2567
ทนายแจม ศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ จากบทบาททนายความความเพื่อสิทธิมนุษยชน นักการเมือง และความเป็นแม่ กับการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิของผู้หญิงและรัฐสวัสดิการของแม่และเด็กอย่างถ้วนหน้า
แนวคิด-ปรัชญา
20
มกราคม
2567
'ฐปณีย์ เอียดศรีไชย' กล่าวถึงประสบการณ์ในการทำงานด้านสื่อมวลชนในฐานะผู้หญิง กับความท้าทายในการทำงานด้านสิทธิมนุษยชนที่นับว่าไม่ใช่เรื่องง่าย ซึ่งการที่จะก้าวข้ามความกลัวได้ จะต้องมีความกล้าหาญในการนำเสนอประเด็นที่สนใจจนนำไปสู่การสร้างพื้นที่นำเสนอประเด็นเป็นของตัวเอง
แนวคิด-ปรัชญา
19
มกราคม
2567
'พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์' เปิดประเด็นการเสวนาด้วยการกล่าวถึงท่านผู้หญิงพูนศุข ที่เป็นต้นแบบสำคัญที่นักสันติภาพที่สำคัญคนหนึ่งในสังคมไทย อีกทั้งบทบาทและอุปสรรคของผู้หญิง ที่ลุกขึ้นมาเป็นแกนนำในการผลักดันประเด็นต่างๆ รวมไปถึงความเจ็บปวดของคนกลุ่มน้อยที่ในสังคมรับฟังแต่คนเสียงดังๆ
แนวคิด-ปรัชญา
17
มกราคม
2567
งบฯ กลาง เป็นเครื่องมือให้กับรัฐบาลในการใช้งบประมาณได้คล่องตัวในการดำเนินนโยบาย หรือสถานการณ์ที่ไม่แน่นอนในรายจ่ายในอนาคต แต่ตลอดระยะ 10 ปีที่ผ่านมา รัฐบาลมีแนวโน้มที่จะตั้งงบฯ กลางเพิ่มสูงขึ้น ส่วนที่น่าจะมีปัญหามากที่สุดก็คือ งบประมาณรายจ่ายงบกลางรายการเงินสำรองฉุกเฉินหรือจำเป็น ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งรัฐบาลยังมีพฤติกรรมที่ใช้จ่ายงบฯ กลาง เป็นเครื่องมือสำคัญในการดำเนินนโยบาย ทั้งที่รัฐบาลสามารถตั้งส่วนนี้ได้ในรายการและแผนงานปกติ
แนวคิด-ปรัชญา
16
มกราคม
2567
เนื่องในโอกาสครบรอบวันอนิจกรรมของ ศาสตราจารย์พิเศษ อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ นักวิชาการผู้วางรากฐานให้แก่กฎหมายมหาชนในประเทศไทย ขอเชิญชวนอ่านบทความทางกฎหมายจากผลงานทางวิชาการที่มีคุณูปการต่อวงการนิติศาสตร์ไทย
แนวคิด-ปรัชญา
10
มกราคม
2567
การเพื่อสันติวิธี เป็นการปลดปล่อยผู้คนที่ถูกใช้ความรุนแรง การกดขี่ข่มเห่ง การถูกเอารัดเอาเปรียบ และการถูกกดขี่ข่มเหง จากการกระทำที่อยุติธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
9
มกราคม
2567
วิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมเป็นปัจจัยสองสิ่งที่นับว่าสำคัญในการพัฒนาศักยภาพในการผลิตสินค้าให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเป็นผลให้ผลผลิตที่ออกมานั้นมีคุณภาพสูง ส่งผลดีต่อเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม
แนวคิด-ปรัชญา
8
มกราคม
2567
เงินคงคลังในอดีตที่เน้นการสะสมไว้ใช้ในระยะยาว ได้เปลี่ยนไปในสมัยปัจจุบันให้เป็นการมีเงินคงคลังเพื่อความสมดุลในการใช้จ่ายของรอยต่อระหว่างปี ดังนั้นในการใช้งบประมาณประจำปีที่บางครั้งอาจมีข้อติดขัด รัฐบาลจึงสามารถใช้เงินคงคลังที่มีอยู่มาแก้ข้อติดขัดหรือเสริมสภาพคล่องการใช้จ่ายของรัฐบาลได้
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา