แนวคิด-ปรัชญา
แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
8
พฤษภาคม
2565
'สุประวีณ์ อาสนศักดิ์' ชวนให้สำรวจทั้งหลักนิติธรรมและหลักความเท่าเทียมผ่านการเรียกร้อง "สมรสเท่าเทียม" ทั้งตัวบทกฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศต่างๆ การเรียกร้องสิทธิและเสรีภาพที่เกี่ยวข้องกับการเรียกร้องสมรสเท่าเทียมในกฎหมาย และสุดท้ายกลับมาพิจารณาการใช้และการตีความรัฐธรรมนูญไทยในคดีสมรสเท่าเทียม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
พฤษภาคม
2565
'ญาณิน จิวะกิดาการ หุยากรณ์' ผู้เรียบเรียงบทความ “สิ่งคุกคามความมั่นคงของมนุษย์ : จากอดีตถึงอนาคตที่ยากจะคาดการณ์” จาก SDG MOVE นำเสนอความสำคัญกับชีวิตมนุษย์ในด้านของความมั่นคงเป็นพิเศษ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
พฤษภาคม
2565
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' ชวนให้พิจารณาถึงเรื่องของ "ความยุติธรรม" ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่ความยุติธรรมในเรื่องของตัวบทกฎหมาย หากแต่เป็น "ความยุติธรรมระหว่างช่วงเวลา" ที่เชื่อมโยงกับ “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” (SDGs)
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
5
พฤษภาคม
2565
SDGs มาจากการเจรจาของประเทศต่างๆ ที่เป็นสมาชิกของ ‘องค์การสหประชาชาติ’ (United Nation) ซึ่งได้เริ่มขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 2012 เป็นความตกลงที่มีความต่อเนื่องมาจากเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ ที่รู้จักกันในชื่อ Millenium Development Goals หรือ MDGs ซึ่งมีระยะเวลาตั้งแต่ ค.ศ. 2000-2015 โดย SDGs มีระยะเวลาในการทำการพัฒนาที่เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 2015-2030
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2565
สาเหตุประการสำคัญของการอภิวัตน์สยาม คือ ความต้องการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจให้กับราษฎร และปัญหาหนึ่งที่สำคัญมาก คือ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นปกครองกับราษฎรทั่วไป ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระองค์’ กับ ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์’ ออกจากกันถือว่ารากฐานสำคัญของความเป็นรัฐสมัยใหม่ในเวลานั้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
เมษายน
2565
PRIDI Economic Focus กับประเด็นร้อนของ "ข้าวเหนียวมะม่วง" กับศิลปินแร๊ปเปอร์มากความสามารถอย่างสาวน้อย 'มิลลิ ดนุภา คณาธีรกุล' บนเวทีโคเชลลา (Coachella) สหรัฐอเมริกา นอกจากมิลลิจะเป็นศิลปินเดี่ยวไทยคนแรกที่ได้ขึ้นเวที Coachella 2022 แล้ว เธอยังสร้างประวัติศาสตร์โดยการถือชามข้าวเหนียวมะม่วงโชว์กินกลางเวทีอีกด้วย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
21
เมษายน
2565
'อิทธิพล โคตะมี' ชวนให้ศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยในช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ถึงสภาวะที่ยากแค้นของราษฎรในแผ่นดินสยาม กับกระบวนการสะสมทุนทางเศรษฐกิจที่เหลื่อมล้ำจนส่งผลโดยตรงต่อความทุกข์ยากของราษฎร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
20
เมษายน
2565
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' ได้ชวนให้สำรวจความเปลี่ยนแปลงตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาของ "ประมวลรัษฎากร" โดยเริ่มจากปฐมบทของการจัดทำ พัฒนาการความเปลี่ยนแปลงที่มีการแก้ไขมาแล้วกว่า 80 ครั้ง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
5
เมษายน
2565
"สถาบันปรีดี พนมยงค์" ที่ครูอุทิศที่ดินให้นั้น ได้ดำเนินกิจกรรมสร้างสรรค์อันเป็นประโยชน์ต่อสังคมและราษฎรไทยเป็นรูปธรรมมาอย่างต่อเนื่อง แม้การเปลี่ยนแปลงใดๆ จะเกิดขึ้นตามความเป็นอนิจจังของสังคมและเหตุปัจจัยต่างๆ แต่สถาบันปรีดี พนมยงค์ ยังคงทำกิจกรรมตามปณิธานของผู้ก่อตั้งอย่างไม่เปลี่ยนแปลงและไม่มีวันสิ้นสุด
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา
28
มีนาคม
2565
"เอกราชในทัศนะของคณะราษฎร" นั้น มีความหมายกว้างกว่าการปักปันอาณาเขต หรือ สิทธิสภาพนอกอาณาเขต และในโลกทัศน์ของปรีดียังแสดงให้เห็นว่าผลประโยชน์จากเอกราชต้องเป็นประโยชน์ต่อราษฎรอันสอดรับกับงานเขียนสมัยนั้นที่มักจะสะกด "เอกราช" เป็น "เอกราษฎร์" อย่างมีนัยยะสำคัญ