ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤษภาคม
2564
หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 แล้ว ก็มีการจัดตั้งรัฐบาลพลเรือนขึ้น แต่ก็เห็นได้ชัดว่าระยะเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นนั้นยังมีความอ่อนแออยู่มาก
แนวคิด-ปรัชญา
20
พฤษภาคม
2564
  ผมมีโอกาสได้เห็นบ้านเมืองที่ประเทศฝรั่งเศสเป็นครั้งแรกเมื่อตอนอายุ 16 เพราะตามคุณยายพูนศุข (ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์) กลับมาที่บ้านอองโตนี จึงทำให้มีโอกาสได้ใช้ชีวิตกับคุณตาปรีดี (ปรีดี พนมยงค์) ร่วม 3 เดือน ทำให้ผมรู้สึกประทับใจกับสภาพบ้านเมืองและชีวิต ความเป็นอยู่ที่นี่มาก จนเมื่อภายหลังราวอายุ 20 ปี เมื่อตอนเป็นนักศึกษาแพทย์ เป็นโอกาสอีกครั้งที่ได้กลับไปที่บ้านอองโตนี เพราะมีทริปเดินทางไปทัวร์ยุโรปกับเพื่อนและน้องสาว ซึ่งครั้งนั้นประจวบเหมาะพอดีกับเหตุการณ์สูญเสียอันยิ่งใหญ่ในชีวิต คือ ‘การมรณกรรมของคุณตาปรีดี’
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤษภาคม
2564
"สวัสดิการทางสังคม" เป็นโจทย์สำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ ซึ่งประกอบไปด้วยการพัฒนาในหลายมิติ ได้แก่ สวัสดิการสำหรับเด็กและครอบครัว สวัสดิการสำหรับคนทำงาน สวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ สวัสดิการสำหรับผู้ด้อยโอกาส สวัสดิการรักษาพยาบาล และ สวัสดิการการศึกษา
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2564
"พฤษภาทมิฬ" เหตุการณ์สำคัญหน้าหนึ่งที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เกิดขึ้นเมื่อคราวที่ พลเอก สุจินดา คราประยูร ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยชนวนเหตุครั้งนั้น คือ การต่อต้านการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) หัวหน้าผู้ก่อการ คือ พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ณ ขณะนั้น ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2534
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤษภาคม
2564
ปาฐกถาวันปรีดี พนมยงค์ “รัฐสวัสดิการเพื่อความสุขสมบูรณ์ของราษฎร” เนื่องในวาระ 121 ปี ชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ 11 พฤษภาคม 2564
แนวคิด-ปรัชญา
11
พฤษภาคม
2564
กระแสธารแห่งการเปลี่ยนแปลงไหลเชี่ยวกรากยิ่งในช่วงทศวรรษ ๒๔๖๐ และ ๒๔๗๐ เริ่มตั้งแต่การล่มสลายลงของจักรวรรดิรัสเซีย พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ ๒ แห่งราชวงศ์โรมานอฟถูกโค่นล้ม
แนวคิด-ปรัชญา
7
พฤษภาคม
2564
ตัดตอนมาจาก เวทีวิชาการการนำเสนองานวิจัยและบทความ “จินตนาการสู่สังคมไทยเสมอหน้า” ข้อเสนอนโยบายการเข้าถึงสวัสดิการสังคม และ สุขภาวะ หัวข้อ “ประกันสังคมและกฎหมายแรงงาน” โดย รศ.ดร. ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2564
จากการที่ได้มีโอกาสศึกษาและทำความเข้าใจเค้าโครงการเศรษฐกิจมาบ้างนั้น ผู้เขียนมักจะตั้งคำถามกับตัวเองเสมอว่า หากเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ได้รับการนำเสนอในปี ๒๔๗๖ ได้รับการยอมรับและถูกประกาศใช้ผ่านร่างกฎหมายที่สำคัญ ๒ ฉบับ ได้แก่ ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกอบเศรษฐกิจ พุทธศักราช ๒๔๗๖ และร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร พุทธศักราช ๒๔๗๖ แล้วสังคมสยามในเวลานั้น และในเวลาต่อมาจะพึงมีรูปร่างหน้าตาเปลี่ยนแปลงไปเช่นไรบ้าง  
แนวคิด-ปรัชญา
28
เมษายน
2564
เวลาที่เราบอกถึงกระแสความเข้าใจ ความต้องการของรัฐสวัสดิการ มันจึงมีความเกี่ยวพันกับการนิยาม “ความเป็นคน” สิ่งหนึ่งที่ผมอยากย้ำ ในเวลาที่เราคุยกันเรื่องสวัสดิการ ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า มันคือเรื่องการเมือง มันคือการต่อสู้ มันคือการยืนยันว่าคนเท่ากัน”
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา