แนวคิด-ปรัชญา
แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2564
การสิ้นสุดลงของ “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” ในสยามจึงเป็นไปเพื่อการก่อเกิดใหม่ของ “ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” หรือ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
มิถุนายน
2564
จุดเริ่มต้นแห่งการก่อเกิดประชาธิปไตยนั้น ได้เริ่มก่อตัวขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ถูกส่งต่อมาเรื่อยๆ จนถึงรัชสมัยของรัชกาลที่ 7 โดยมีทั้งชนชั้นสูงอย่างเจ้าขุนมูลนาย และ ราษฎรไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
พฤษภาคม
2564
ปรีดี พนมยงค์: ผู้ริเริ่มก่อการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย ๒๔๗๕ ตอนที่สอง โดย ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
28
พฤษภาคม
2564
บทความนี้ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' จะพาย้อนศึกษาโครงสร้าง ข้อกฎหมายต่างๆ และความสำคัญของภาษีที่ดินในประเทศไทย อาทิ เรื่องของภาษีโรงเรือนและสิ่งปลูกสร้าง เรื่องของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤษภาคม
2564
ผลงานจำนวนมากของปรีดีโดยเฉพาะด้านความเป็นธรรมของเศรษฐกิจและสังคมพบว่า มีฐานมาจากแนวคิด “ภราดรภาพนิยม”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2564
ประการแรกที่ได้ ก็คือ เมื่อโทสะจริตเข้าครอบงำ คารมเผ็ดร้อนก็ถูกนำมาใช้ นำมาเยาะเย้ยกัน หาประโยชน์อันใดมิได้เลย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
23
พฤษภาคม
2564
การยึดมั่นในหลักการปกครองโดยกฎหมาย การดำเนินการตามครรลองของระบอบประชาธิปไตยและใช้กลไกรัฐสภาแก้ปัญหาวิกฤติต่าง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤษภาคม
2564
หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 แล้ว ก็มีการจัดตั้งรัฐบาลพลเรือนขึ้น แต่ก็เห็นได้ชัดว่าระยะเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นนั้นยังมีความอ่อนแออยู่มาก
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
20
พฤษภาคม
2564
ผมมีโอกาสได้เห็นบ้านเมืองที่ประเทศฝรั่งเศสเป็นครั้งแรกเมื่อตอนอายุ 16 เพราะตามคุณยายพูนศุข (ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์) กลับมาที่บ้านอองโตนี จึงทำให้มีโอกาสได้ใช้ชีวิตกับคุณตาปรีดี (ปรีดี พนมยงค์) ร่วม 3 เดือน ทำให้ผมรู้สึกประทับใจกับสภาพบ้านเมืองและชีวิต ความเป็นอยู่ที่นี่มาก
จนเมื่อภายหลังราวอายุ 20 ปี เมื่อตอนเป็นนักศึกษาแพทย์ เป็นโอกาสอีกครั้งที่ได้กลับไปที่บ้านอองโตนี เพราะมีทริปเดินทางไปทัวร์ยุโรปกับเพื่อนและน้องสาว ซึ่งครั้งนั้นประจวบเหมาะพอดีกับเหตุการณ์สูญเสียอันยิ่งใหญ่ในชีวิต คือ ‘การมรณกรรมของคุณตาปรีดี’
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤษภาคม
2564
"สวัสดิการทางสังคม" เป็นโจทย์สำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ ซึ่งประกอบไปด้วยการพัฒนาในหลายมิติ ได้แก่ สวัสดิการสำหรับเด็กและครอบครัว สวัสดิการสำหรับคนทำงาน สวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ สวัสดิการสำหรับผู้ด้อยโอกาส สวัสดิการรักษาพยาบาล และ สวัสดิการการศึกษา