ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

ชีวิต-ครอบครัว
3
พฤษภาคม
2565
"ขอให้คิดถึงชาติ และราษฎรไทย" ดุษฎีเล่าว่านี่คือสิ่งที่เธอเห็นในผู้เป็นพ่อมาตลอดช่วงชีวิต “ตลอดเวลานึกถึงคนอื่น นึกถึงบ้านเมือง นึกถึงประชาธิปไตย ตลอดเวลาเลย คือไม่ว่าจะสนทนาในครอบครัว หรือสนทนากับลูกศิษย์ที่มาพบ (ที่บ้านในฝรั่งเศส) หรือแขกที่มา จะพูดแต่เรื่องความห่วงใยต่อบ้านเมืองตลอดเวลา
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
พฤษภาคม
2565
ผ่านกาลเวลามาถึง 39 ปีเต็ม ความไม่แน่นอนเกิดขึ้นในทุกวินาที ไม่มีสิ่งใดจักชนะเงื่อนแห่งเวลาได้ แต่สิ่งที่ไม่มีวันเปลี่ยนแปลง นั่นก็คือคุณูปการและความดีงามต่อประเทศชาติและราษฎรไทยที่ท่านอาจารย์ปรีดีก่อร่างสร้างคุณประโยชน์เอาไว้ เป็นไปดังคติธรรมที่ท่านยึดถือมาตลอดชีวิตที่ว่า “ผลของการที่ก่อสร้างไว้ดีแล้วย่อมไม่สูญหาย” 
บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2565
ความคิดเรื่องกรรมกรของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ และนโยบายต่อกรรมกรของคณะราษฎร ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงกันมากนัก เช่นน้อยคนที่จะทราบว่า ปรีดีเป็นผู้สนับสนุนให้มีวันกรรมกร ขึ้น ครั้งหนึ่งยังเคยมอบหมายให้ หม่อมเจ้าสกลวรรณกร วรวรรณ ไปแสดงสุนทรพจน์เนื่องในวันกรรมกร[1]
บทสัมภาษณ์
30
เมษายน
2565
#PRIDIInterview ขอนำเสนอ ความรู้เรื่องของ “ภาษี” ก่อน และ หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดย 'คุณศิริกัญญา ตันสกุล' รองหัวหน้าพรรคก้าวไกลฝ่ายนโยบาย ที่จะพาคุณไปเรียนรู้และทำความเข้าใจ ตั้งแต่เรื่องของภาษีในแง่ประวัติศาสตร์ว่าด้วยเรื่อง "ประมวลรัษฎากร" ว่าคืออะไร สาเหตุที่ต้องมีการสถาปนาประมวลรัษฎากรขึ้นนั้นด้วยเพราะเหตุใด
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
เมษายน
2565
คุณรู้หรือไม่? กว่าจะเป็น "สวนลุมพินี" อย่างที่เห็นกันทุกวันนี้ พื้นที่ส่วนหนึ่งของบริเวณนี้เคยเป็น "สวนสนุก" มาก่อน ในบทความนี้ ผู้เขียนจะพาคุณย้อนประวัติศาสตร์ไปทำความรู้จักกับที่มาว่ากว่าจะมาเป็นสวนลุมพินีที่อย่างที่เห็น ซึ่งมาปรับเปลี่ยนในสมัยรัฐบาลคณะราษฎร อันมี 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' หรือ 'นายปรีดี พนมยงค์' เป็นเจ้ากระทรวงมหาดไทย
30
เมษายน
2565
ประชุมการพิจารณาตัดสินการประกวดบทความ กองทุนปาล พนมยงค์ ประจำปี 2565 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2565
สาเหตุประการสำคัญของการอภิวัตน์สยาม คือ ความต้องการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจให้กับราษฎร และปัญหาหนึ่งที่สำคัญมาก คือ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นปกครองกับราษฎรทั่วไป ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระองค์’ กับ ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์’ ออกจากกันถือว่ารากฐานสำคัญของความเป็นรัฐสมัยใหม่ในเวลานั้น
บทบาท-ผลงาน
28
เมษายน
2565
‘ไสว สุทธิพิทักษ์’ ได้ย้อนเรื่องราวถึงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ผูกเงินบาทเข้าไว้กับเงินปอนด์สเตอร์ลิงของอังกฤษมาอย่างยาวนาน ซึ่งการกระทำเช่นนี้นั้น ไม่เป็นผลดีต่อเสถียรภาพเงินตราและความมั่นคงของชาติอย่างแท้จริง
27
เมษายน
2565
งานสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) เพื่อรับฟังความคิดเห็น “โครงการพัฒนาพื้นที่ของสถาบันปรีดี พนมยงค์”
บทบาท-ผลงาน
26
เมษายน
2565
จากปัญหาหลักของชาวนาในสยามที่ปรีดีพบ คือ ไม่ได้รับความช่วยเหลือและดูแลโดยหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจากทั้งส่วนกลาง หรือส่วนท้องถิ่น อาจเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ปรีดี สนใจเรื่องบทบาทและหน้าที่ตำรวจชาวนาของฝรั่งเศส ส่งผลเชื่อมโยงแนวคิดมาจนถึงการอภิวัฒน์สยามเพื่อความสุขสมบูรณ์ของราษฎร ตามปฏิญญาที่คณะราษฎรได้ประกาศไว้