ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

ชีวิต-ครอบครัว
15
เมษายน
2565
ปฏิทินเดิมของไทย เวลาที่พระอาทิตย์ย่างขึ้นสู่ราศีเมษ เรียกว่า มหาสงกรานต์ และก็เป็นนักขัตฤกษ์เนื่องในการขึ้นปีใหม่ ต่อจากนั้นเป็น วันเนา คือ วันที่พระอาทิตย์โคจรอยู่ระหว่างสองราศี คือ มีนและเมษ และสุดท้ายเป็นวันเถลิงศกจุลศักราช ซึ่งในปัจจุบันได้กำหนด 3 วันนี้ ตามสุริยคติเป็นวันที่13-14-15 เมษายน
บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2565
  วันนี้เมื่อ 5 ปีที่แล้ว (14 เมษายน 2560)  มีข่าวแพร่สะพัดว่า หมุด ‘ก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญ’ หรือเรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ‘หมุดคณะราษฎร’ ได้หายไปจากจุดที่มันเคยอยู่ (จากการติดตามของสำนักข่าวประชาไทระบุมีความเป็นไปได้ที่หมุดจะหายไปในช่วงเวลาระหว่างวันที่ 3-7 เมษายน 2560) เป็นปริศนาจวบจนถึงวันนี้
บทบาท-ผลงาน
13
เมษายน
2565
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' นำเสนอเรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ที่มาของ "วันขึ้นปีใหม่" ในอดีต ไม่ว่าจะเป็น 1 เมษายน 13 เมษายน จนถึงกาลปรับเปลี่ยนในปัจจุบันเป็น วันที่ 1 มกราคม โดยประเด็นสำคัญที่ผู้เขียนนำเสนอนั้น วันที่ 1 เมษายน นอกจากจะเป็นวันปีใหม่แล้ว ยังถูกกำหนดให้เป็น "วันเริ่มต้นปีงบประมาณ" อีกด้วย
13
เมษายน
2565
  “ประเพณีวันสงกรานต์” เป็นประเพณีฉลองการขึ้นปีใหม่ของไทย ซึ่งโดยทั่วไปจัดขึ้นระหว่างวันที่ 13-15 เมษายน ตรงกับเดือน 5 ตามจันทรคติ ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ประเทศไทยมีประเพณีวันสงกรานต์ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
บทบาท-ผลงาน
12
เมษายน
2565
1 ปี ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม แม้จะไม่มีการลั่นกระสุนสักนัดแต่ก็ใช่ว่าการเมืองภายในจะราบรื่น ความขัดแย้งของรัฐบาลใหม่ที่เกิดจากการประนีประนอมกันนั้นค่อยก่อตัวจากคลื่นใต้น้ำจนปะทุเด่นชัดจากนโยบายการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจระหว่างนโยบายของฝ่าย ‘พระยามโนปกรณ์นิติธาดา’ และ “เค้าโครงการเศรษฐกิจ” หรือที่เรียกกันว่า “สมุดปกเหลือง” ของ ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’[1] ที่ได้เสนอต่อสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีเจตนารมณ์ที่จะทำให้สยามเป็นเอกราชทางด้านเศรษฐกิจ และแก้ไขปัญหาความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจใ
บทบาท-ผลงาน
11
เมษายน
2565
เมื่อได้ เลิกภาษีอันไม่เป็นธรรม และ จัดเก็บภาษีขึ้นใหม่ ตาม “ประมวลรัษฎากร” นั้น รายได้จากภาษีทางตรงของรัฐขาดไปประมาณ 11 ล้านบาท ไม่ใช่น้อยเลย แต่รัฐมนตรีคลัง ‘ดร.ปรีดี พนมยงค์’ ลูกกสิกรชาวกรุงเก่า ผู้มีสายเลือดจากบุพการีต่างสายกัน ไม่หวั่นวิตกเลย
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
เมษายน
2565
เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2560 ‘เสน่ห์ จามริก’ มีอายุครบ 90 ปี ในวาระนี้ลูกศิษย์ลูกหาได้ร่วมกันจัดงาน “ดอกหญ้าไหว: สู่ชีวิตและสังคมเสรี  บทเสวนาแห่งสามัญชน” ขึ้นที่ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ โดยมีลูกศิษย์ของเสน่ห์คนหนึ่งกล่าวรำลึกว่า เขาเป็นนักศึกษาแผนกรัฐศาสตร์ศึกษาที่เสน่ห์ดูแล ครั้งหนึ่งเล่นบาสเกตบอลแขนหัก ไม่อาจใช้มือขวาเขียนตอบข้อสอบได้ เสน่ห์ได้จัดการให้เขาสามารถสอบได้ ด้วยการให้อัดเสียงแล้วให้เจ้าหน้าที่ถอดเป็นคำตอบให้
9
เมษายน
2565
‘ศาสตราจารย์ เสน่ห์ จามริก’ เกิดเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2470 สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง รุ่นที่ 6 ระดับปริญญาตรี ธรรมศาสตร์บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2491 ระดับปริญญาโท ด้านบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ สหราชอาณาจักร เมื่อปี พ.ศ. 2500  ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ (พ.ศ. 2538 - 2540) และ รองประธานมูลนิธิปรีดี พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
8
เมษายน
2565
บทความชิ้นนี้มีหมุดหมายเพื่อนำเสนอพัฒนาการแนวคิดความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และการปรับปรุงระบบภาษีอากรเพื่อราษฎรของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม[1] ก่อนการร่างพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรพุทธศักราช 2481 ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์สำคัญได้แก่ นิติสาส์น ฉบับปฐมฤกษ์ บันทึกการประชุมคณะกรรมการราษฎร และเค้าโครงการเศรษฐกิจ 
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
เมษายน
2565
ตั้งแต่เริ่มระบอบประชาธิปไตยมา แม้ในสภาผู้แทนราษฎรจะได้มีการร่ำร้องให้รัฐบาลลดหย่อนภาษีอากร และรัฐบาลได้ลดหย่อนลงจนถึงที่อยู่แล้วก็ตาม ภาษีอากรทั้งหมดที่เก็บอยู่นั้น เมื่อพิจารณาโดยทั่วๆ ไปแล้ว ยังเห็นว่า ยังไม่เป็นธรรมแก่ราษฎรอยู่ ราษฎรเป็นแต่เพียงรู้สึกหายใจคล่องและพ้นจากการผูกมัดรัดแน่น ในด้านรัฐบาล รายได้จากการภาษีอากรทั้งหมด ก็ไม่พอแก่การที่จะบำรุงสร้างความเจริญก้าวหน้าให้ประเทศชาติ และในส่วนรวม ภาษีอากรเหล่านั้น ไม่เป็นคุณต่อการผลิตและการจำแนกทรัพย์ในระหว่างชั้นของราษฎร และยังมีภาษีอากรที่คนจนหรือคนมั่งมีต้องเสียเท่ากันอยู่ เช่น รัชชูปการ เป็นอาทิ